เรื่อง เทคโนโลยีสำนักงาน
การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคเครื่องจักรของงานสำนักงาน
- เครื่องพิมพ์ดีด
- เครื่องพิมพ์ดีดอัตโนมัติ
- MT/ST(Magnetic
Tape/Selectric Type Writer) และ MC/ST(Magnetic Card/Selectric Type Writer)
- เครื่องประมวลผลคำ (Word processing)
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (COMPUTER TECHNOLOGY)
- ปี 1940 คอมพิวเตอร์ถูกใช้ทางวิชาการและทางทหาร
- ปี 1954 นำ computer มาใช้ในธุรกิจเป็นเครื่องแรก (UNIVAC)
- เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ต่อธุรกิจได้จำกัดอยู่เฉพาะการประมวลผลข้อมูล
- ขยายไปสู่การปฏิบัติสำนักงานอื่น ๆ รวมทั้งการประมวลผลคำและการสื่อสาร
คอมพิวเตอร์ คืออะไร
คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถรับข้อมูลและคำสั่งแล้วนำไปประมวลผล
เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
- หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
- หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU)
- หน่วยแสดงผล (Output Unit)
- หน่วยความจำสำรอง (Secondary Storage Unit)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (COMMUNICATION TECHNOLOGY)
- Telegraph (โทรเลข)
- Telephone (โทรศัพท์)
- Dictation Equipment (เครื่องบันทึกตามคำบอก)
- Facsimile Teletype Writer
- Electronic Mail
CONSUMER ELECTRONICS
สารสนเทศทุกรูปแบบ ข้อมูล ภาพ เสียง วิดีโอ จะถูกเปลี่ยนเป็นสัญญาณดิจิตอลที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและจัดการได้ ผลที่สุดคือ เครื่องมือชิ้นใหม่ที่มีความสามารถและมีประสิทธิภาพมากสำหรับ electronic home และ electronic office
Case : TRUE "ยิ่งรวมกัน ยิ่งดีขึ้น"
- True Visions (สีชมพู่)
- True Move (สีเหลือง)
- True Life (สีเขียวตอง)
- True Money (สีส้ม)
- True Online (สีฟ้า)
- True Corporate Advertising
ผู้นำ Convergence เจ้าแรก
การติดต่อสื่อสารในสำนักงาน
- การติดต่อสื่อสารเป็นกระบวนการในการส่งหรือสื่อและแสดงข้อความทั้งที่เป็นคำพูดและแบบไม่ใช่คำพูด
- ผู้บริหารสำนักงานควรให้ความสำคัญกับการติดต่อสื่อสารที่มีผลกระทบโดยตรงต่อตัวบุคคลและระบบเครือข่ายอย่างมาก
กระบวนการติดต่อสื่อสาร
- ผู้ส่ง (Sender) เป็นต้นทางของการสื่อสารข้อมูล มีหน้าที่เตรียมสร้างข้อมูล อาจจะเป็นสัญญาณต่าง ๆ
เช่น สัญญาณภาพ ข้อมูล ข้อความและเสียง เป็นต้น
- การใส่รหัส (Encode) เป็นการเรียบเรียงจัดการในรูปแบบของสัญลักษณ์ (เช่น คำพูด ตัวเลข เป็นต้น)
เพื่อแปลงสภาพส่งต่อไปยังผู้รับ โดยผ่านสื่อต่าง ๆ เป็นช่องทางการติดต่อสื่อสาร
เช่น สายโทรศัพท์ สัญญาณทีวี สายไฟเบอร์ออฟติก หรือแม้แต่คลื่นทางอากาศ (Air Wave)
เป็นต้น
- ผู้รับ (Receiver) หน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาให้ และพิจารณาข่าวสารโดยการถอดรหัส
กระบวนการติดต่อสื่อสาร
- การถอดรหัส (Decode) เป็นการแปลงหรือถอดความข่าวสารจากความคิดของผู้ส่งมายังความคิดของผู้รับ ช่วงการส่งผ่านเพื่อสื่อสารจากผู้ส่งจนมาถึงผู้รับ เรียกว่า Transmission ส่วนช่วงส่งข้อมูลสื่อสารกลับให้ทราบเรียกว่า Feedback
- เสียงรบกวน (Noise) อุปสรรคที่ทำให้การติดต่อสื่อสารไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิผลเท่าที่ควร
ประเภทการติดต่อสื่อสาร
แบ่งตามโครงสร้างองค์การ
- Downward เป็นการติดต่อสื่อสารจากระดับบนสู่ระดับล่าง ข่าวสารจะมีทิศทางตรงสู่ผู้รับซึ่งอาจมีจำนวนมากกว่า 1 คนก็ได้
- Upward เป็นการติดต่อสื่อสารจากระดับล่างสู่ระดับบนตามสายการบังคับบัญชา
- Lateral เป็นการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ส่งและผู้รับในระดับเดียวกันตามสายงาน
ประเภทการติดต่อสื่อสาร
แบ่งตามเป้าหมายในการติดต่อสื่อสาร
- Internal เป็นการติดต่อสื่อสารภายในองค์การ ซึ่งใช้สื่อภายในสำนักงานสมัยใหม่ประเภทต่างๆ
- External เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้าและสาธาณชน ต้องมีการติดต่อสื่อสารภายนอก
ปัจจุบันมีเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารที่ช่วยให้การสื่อสารกับภายนอกทำให้สะดวก รวดเร็ว และดียิ่งขึ้น
ประเภทการติดต่อสื่อสาร
แบ่งตามรูปแบบ
- Verbal เป็นการติดต่อสื่อสารประกอบด้วยคำไม่ว่าจะเป็นการเขียนหรือพูด
- Nonverbal เป็นการติดต่อสื่อสารซึ่งไม่ได้ใช้การพูดหรือเขียน แต่มาจากท่าทาง ทัศนคติ และอารมณ์ ความรู้สึกหรือแม้แต่กิริยาอาการสัมผัส
ประเภทการติดต่อสื่อสาร
แบ่งตามลักษณะการติดต่อสื่อสาร
- Formal เป็นการติดต่อสื่อสารแบบเป็นทางการ มีลายลักษณ์อักษร หรือสื่อด้วยคำพูดข้อความตามรายงานอย่างชัดเจน
- Informal เป็นการสื่อสารแบบไม่เป็นทางการ เกิดขึ้นตามสถานการณ์ทั่วไป หรือสถานการณ์ในสภาวะส่วนตัว
สาเหตุของปัญหาอุปสรรคในการติดต่อสื่อสารจากมนุษย์
- การรับรู้แตกต่างกัน (Perception) เพราะพื้นฐานการเรียนรู้ การศึกษาประสบการณ์ และประวัติของแต่ละคน มีความแตกต่างกัน
- รูปแบบแตกต่างกัน (Style)
- สถานภาพแตกต่าง (Status)
- วัฒนธรรม ภาษา มาตรฐาน และพฤติกรรมแตกต่าง
- ความคิดเห็นแตกต่าง
- ความรู้ความชำนาญและความสามารถแตกต่าง
- ปัจจัยอื่นๆ เช่น อารมณ์ (Mood) ทัศนคติ (Attitude) วุฒิภาวะ (Maturity) เป็นต้น
อุปสรรคจากองค์การและสื่อ
- บรรยากาศและสภาพแวดล้อมในสำนักงาน
- สื่อในการติดต่อสื่อสาร
- เวลา บางครั้งมีแรงกดดันจากเวลาในการติดต่อสื่อสารจากทั้งผู้ส่งและผู้รับ
- ระยะทาง มีผลต่อการสื่อสารแบบดั้งเดิม
เทคโนโลยีการติดต่อสื่อสาร
- ความสามารถในการสร้าง เก็บ ปฏิบัติการ และสื่อสาร ทุกรูปแบบของข้อมูลในลักษณะของ Digital
มีเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง
- ความเร็วที่เพิ่้มขึ้นจากระบบเทคโนโลยี
- เทคโนโลยีใหม่มีขนาดและต้นทุนที่ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ
คุณลักษณะของเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสาร
- เวลาและสถานที่ (Time and Place)
- กิจกรรมร่วมกัน (Interactivity)
- หลักการ One-to-One, One-to-Many หรือ Many-to-Many
- คนหรือหัวข้อเรื่อง (Person or Subject)
ปัจจัยการเลือกใช้เทคโนโลยีที่ถูกต้องและเหมาะสม
- Message
- Audlence
- Context
- Time
- Cost and Profit
ผลกระทบของเทคโนโลยีในสำนักงาน
- ผลิตภาพและการจ้างงาน
- การกระจายและการรวมงาน
- ความได้เปรียบเชิงแข่งขันและความเสี่ยง
- ข้อมูลข่าวสารมากเกินไป ทำให้เกิดผลกระทบต่อเวลา
- ความปลอดภัยและความส่วนตัว
- ความชำนาญงานที่ต้องการ
ระบบเครือข่้ายเทคโนโลยีในสำนักงาน
ระบบเครือข่ายในทางคอมพิวเตอร์หรือเทคโนโลยีข้อมูล หมายถึง
การสื่อสารข้อมูลหรือสารสนเทศระหว่างคอมพิวเตอร์ซึ่งมีการใช้งานอยู่ในที่ต่าง ๆ กัน
เช่น ในสำนักงาน ระหว่างองค์การในประเทศหรือระหว่างองค์การที่อยู่คนละประเทศ
- เครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet)
- อินทราเน็ต (Intranet)
- เอ๊กซ์ทราเน็ต (Extranet)
ประโยชน์ของอินทราเน็ต
- พัฒนาด้านข้อมูลข่าวสาร ให้มีความทันสมัย สะดวก รวดเร็ว ลดขั้นตอน ประหยัด
- ลดต้นทุนในการบริหารข้อมูลข่าวสาร
- ใช้เทคโนโลยีแบบเปิด เป็นประโยชน์ในการกระจายความเสี่ยงจากการทำธุรกรรมร่วมกัน
- มีความพร้อมในการเชื่อมโยงระบบอินเทอร์เน็ต
เอ๊กซ์ทราเน็ต (Extranet)
ลักษณะของการเชื่่่อมต่อ 2 ประเภท
- การเชื่อมต่อโดยตรง (Direct Link) เป็นการเชื่อมต่อระหว่างจุด 2 จุด
- การเชื่อมต่อแบบเครือข่ายเสมือน (Virtual Network) เป็นการเชื่อมต่อระหว่างระบบเครือข่ายอินทราเน็ตจำนวนหลายๆ เครือข่ายและสามารถเชื่อมผ่านอินเทอร์เน็ตได้ด้วยเช่นกัน
ระบบการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ตามระยะทาง
- ระบบเครือข่ายระยะใกล้ (Local Area Network: LAN)
- ระบบเครือข่ายระยะกลาง (Metropolitan Area Network:MAN)
- ระบบเครือข่ายระยะไกล (Wide Area Network:WAN)
ลักษณะการติดต่อสื่อสารในสำนักงาน
- การส่งข้อมูล (Data Sending)
- การนัดหมาย (Appointment)
- การประชุม (Meeting or Conference)
- การนำเสนอ (Presentation)
วันเสาร์ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2553
เรียนครั้งที่ 4 เทคโนโลยีสำนักงาน
เรื่อง เทคโนโลยีสำนักงาน
การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคเครื่องจักรของงานสำนักงาน
- เครื่องพิมพ์ดีด
- เครื่องพิมพ์ดีดอัตโนมัติ
- MT/ST(Magnetic
Tape/Selectric Type Writer) และ MC/ST(Magnetic Card/Selectric Type Writer)
- เครื่องประมวลผลคำ (Word processing)
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (COMPUTER TECHNOLOGY)
- ปี 1940 คอมพิวเตอร์ถูกใช้ทางวิชาการและทางทหาร
- ปี 1954 นำ computer มาใช้ในธุรกิจเป็นเครื่องแรก (UNIVAC)
- เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ต่อธุรกิจได้จำกัดอยู่เฉพาะการประมวลผลข้อมูล
- ขยายไปสู่การปฏิบัติสำนักงานอื่น ๆ รวมทั้งการประมวลผลคำและการสื่อสาร
คอมพิวเตอร์ คืออะไร
คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถรับข้อมูลและคำสั่งแล้วนำไปประมวลผล
เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
- หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
- หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU)
- หน่วยแสดงผล (Output Unit)
- หน่วยความจำสำรอง (Secondary Storage Unit)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (COMMUNICATION TECHNOLOGY)
- Telegraph (โทรเลข)
- Telephone (โทรศัพท์)
- Dictation Equipment (เครื่องบันทึกตามคำบอก)
- Facsimile Teletype Writer
- Electronic Mail
CONSUMER ELECTRONICS
สารสนเทศทุกรูปแบบ ข้อมูล ภาพ เสียง วิดีโอ จะถูกเปลี่ยนเป็นสัญญาณดิจิตอลที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและจัดการได้ ผลที่สุดคือ เครื่องมือชิ้นใหม่ที่มีความสามารถและมีประสิทธิภาพมากสำหรับ electronic home และ electronic office
Case : TRUE "ยิ่งรวมกัน ยิ่งดีขึ้น"
- True Visions (สีชมพู่)
- True Move (สีเหลือง)
- True Life (สีเขียวตอง)
- True Money (สีส้ม)
- True Online (สีฟ้า)
- True Corporate Advertising
ผู้นำ Convergence เจ้าแรก
การติดต่อสื่อสารในสำนักงาน
- การติดต่อสื่อสารเป็นกระบวนการในการส่งหรือสื่อและแสดงข้อความทั้งที่เป็นคำพูดและแบบไม่ใช่คำพูด
- ผู้บริหารสำนักงานควรให้ความสำคัญกับการติดต่อสื่อสารที่มีผลกระทบโดยตรงต่อตัวบุคคลและระบบเครือข่ายอย่างมาก
กระบวนการติดต่อสื่อสาร
- ผู้ส่ง (Sender) เป็นต้นทางของการสื่อสารข้อมูล มีหน้าที่เตรียมสร้างข้อมูล อาจจะเป็นสัญญาณต่าง ๆ
เช่น สัญญาณภาพ ข้อมูล ข้อความและเสียง เป็นต้น
- การใส่รหัส (Encode) เป็นการเรียบเรียงจัดการในรูปแบบของสัญลักษณ์ (เช่น คำพูด ตัวเลข เป็นต้น)
เพื่อแปลงสภาพส่งต่อไปยังผู้รับ โดยผ่านสื่อต่าง ๆ เป็นช่องทางการติดต่อสื่อสาร
เช่น สายโทรศัพท์ สัญญาณทีวี สายไฟเบอร์ออฟติก หรือแม้แต่คลื่นทางอากาศ (Air Wave)
เป็นต้น
- ผู้รับ (Receiver) หน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาให้ และพิจารณาข่าวสารโดยการถอดรหัส
กระบวนการติดต่อสื่อสาร
- การถอดรหัส (Decode) เป็นการแปลงหรือถอดความข่าวสารจากความคิดของผู้ส่งมายังความคิดของผู้รับ ช่วงการส่งผ่านเพื่อสื่อสารจากผู้ส่งจนมาถึงผู้รับ เรียกว่า Transmission ส่วนช่วงส่งข้อมูลสื่อสารกลับให้ทราบเรียกว่า Feedback
- เสียงรบกวน (Noise) อุปสรรคที่ทำให้การติดต่อสื่อสารไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิผลเท่าที่ควร
ประเภทการติดต่อสื่อสาร
แบ่งตามโครงสร้างองค์การ
- Downward เป็นการติดต่อสื่อสารจากระดับบนสู่ระดับล่าง ข่าวสารจะมีทิศทางตรงสู่ผู้รับซึ่งอาจมีจำนวนมากกว่า 1 คนก็ได้
- Upward เป็นการติดต่อสื่อสารจากระดับล่างสู่ระดับบนตามสายการบังคับบัญชา
- Lateral เป็นการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ส่งและผู้รับในระดับเดียวกันตามสายงาน
ประเภทการติดต่อสื่อสาร
แบ่งตามเป้าหมายในการติดต่อสื่อสาร
- Internal เป็นการติดต่อสื่อสารภายในองค์การ ซึ่งใช้สื่อภายในสำนักงานสมัยใหม่ประเภทต่างๆ
- External เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้าและสาธาณชน ต้องมีการติดต่อสื่อสารภายนอก
ปัจจุบันมีเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารที่ช่วยให้การสื่อสารกับภายนอกทำให้สะดวก รวดเร็ว และดียิ่งขึ้น
ประเภทการติดต่อสื่อสาร
แบ่งตามรูปแบบ
- Verbal เป็นการติดต่อสื่อสารประกอบด้วยคำไม่ว่าจะเป็นการเขียนหรือพูด
- Nonverbal เป็นการติดต่อสื่อสารซึ่งไม่ได้ใช้การพูดหรือเขียน แต่มาจากท่าทาง ทัศนคติ และอารมณ์ ความรู้สึกหรือแม้แต่กิริยาอาการสัมผัส
ประเภทการติดต่อสื่อสาร
แบ่งตามลักษณะการติดต่อสื่อสาร
- Formal เป็นการติดต่อสื่อสารแบบเป็นทางการ มีลายลักษณ์อักษร หรือสื่อด้วยคำพูดข้อความตามรายงานอย่างชัดเจน
- Informal เป็นการสื่อสารแบบไม่เป็นทางการ เกิดขึ้นตามสถานการณ์ทั่วไป หรือสถานการณ์ในสภาวะส่วนตัว
สาเหตุของปัญหาอุปสรรคในการติดต่อสื่อสารจากมนุษย์
- การรับรู้แตกต่างกัน (Perception) เพราะพื้นฐานการเรียนรู้ การศึกษาประสบการณ์ และประวัติของแต่ละคน มีความแตกต่างกัน
- รูปแบบแตกต่างกัน (Style)
- สถานภาพแตกต่าง (Status)
- วัฒนธรรม ภาษา มาตรฐาน และพฤติกรรมแตกต่าง
- ความคิดเห็นแตกต่าง
- ความรู้ความชำนาญและความสามารถแตกต่าง
- ปัจจัยอื่นๆ เช่น อารมณ์ (Mood) ทัศนคติ (Attitude) วุฒิภาวะ (Maturity) เป็นต้น
อุปสรรคจากองค์การและสื่อ
- บรรยากาศและสภาพแวดล้อมในสำนักงาน
- สื่อในการติดต่อสื่อสาร
- เวลา บางครั้งมีแรงกดดันจากเวลาในการติดต่อสื่อสารจากทั้งผู้ส่งและผู้รับ
- ระยะทาง มีผลต่อการสื่อสารแบบดั้งเดิม
เทคโนโลยีการติดต่อสื่อสาร
- ความสามารถในการสร้าง เก็บ ปฏิบัติการ และสื่อสาร ทุกรูปแบบของข้อมูลในลักษณะของ Digital
มีเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง
- ความเร็วที่เพิ่้มขึ้นจากระบบเทคโนโลยี
- เทคโนโลยีใหม่มีขนาดและต้นทุนที่ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ
คุณลักษณะของเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสาร
- เวลาและสถานที่ (Time and Place)
- กิจกรรมร่วมกัน (Interactivity)
- หลักการ One-to-One, One-to-Many หรือ Many-to-Many
- คนหรือหัวข้อเรื่อง (Person or Subject)
ปัจจัยการเลือกใช้เทคโนโลยีที่ถูกต้องและเหมาะสม
- Message
- Audlence
- Context
- Time
- Cost and Profit
ผลกระทบของเทคโนโลยีในสำนักงาน
- ผลิตภาพและการจ้างงาน
- การกระจายและการรวมงาน
- ความได้เปรียบเชิงแข่งขันและความเสี่ยง
- ข้อมูลข่าวสารมากเกินไป ทำให้เกิดผลกระทบต่อเวลา
- ความปลอดภัยและความส่วนตัว
- ความชำนาญงานที่ต้องการ
ระบบเครือข่้ายเทคโนโลยีในสำนักงาน
ระบบเครือข่ายในทางคอมพิวเตอร์หรือเทคโนโลยีข้อมูล หมายถึง
การสื่อสารข้อมูลหรือสารสนเทศระหว่างคอมพิวเตอร์ซึ่งมีการใช้งานอยู่ในที่ต่าง ๆ กัน
เช่น ในสำนักงาน ระหว่างองค์การในประเทศหรือระหว่างองค์การที่อยู่คนละประเทศ
- เครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet)
- อินทราเน็ต (Intranet)
- เอ๊กซ์ทราเน็ต (Extranet)
ประโยชน์ของอินทราเน็ต
- พัฒนาด้านข้อมูลข่าวสาร ให้มีความทันสมัย สะดวก รวดเร็ว ลดขั้นตอน ประหยัด
- ลดต้นทุนในการบริหารข้อมูลข่าวสาร
- ใช้เทคโนโลยีแบบเปิด เป็นประโยชน์ในการกระจายความเสี่ยงจากการทำธุรกรรมร่วมกัน
- มีความพร้อมในการเชื่อมโยงระบบอินเทอร์เน็ต
เอ๊กซ์ทราเน็ต (Extranet)
ลักษณะของการเชื่่่อมต่อ 2 ประเภท
- การเชื่อมต่อโดยตรง (Direct Link) เป็นการเชื่อมต่อระหว่างจุด 2 จุด
- การเชื่อมต่อแบบเครือข่ายเสมือน (Virtual Network) เป็นการเชื่อมต่อระหว่างระบบเครือข่ายอินทราเน็ตจำนวนหลายๆ เครือข่ายและสามารถเชื่อมผ่านอินเทอร์เน็ตได้ด้วยเช่นกัน
ระบบการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ตามระยะทาง
- ระบบเครือข่ายระยะใกล้ (Local Area Network: LAN)
- ระบบเครือข่ายระยะกลาง (Metropolitan Area Network:MAN)
- ระบบเครือข่ายระยะไกล (Wide Area Network:WAN)
ลักษณะการติดต่อสื่อสารในสำนักงาน
- การส่งข้อมูล (Data Sending)
- การนัดหมาย (Appointment)
- การประชุม (Meeting or Conference)
- การนำเสนอ (Presentation)
การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคเครื่องจักรของงานสำนักงาน
- เครื่องพิมพ์ดีด
- เครื่องพิมพ์ดีดอัตโนมัติ
- MT/ST(Magnetic
Tape/Selectric Type Writer) และ MC/ST(Magnetic Card/Selectric Type Writer)
- เครื่องประมวลผลคำ (Word processing)
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (COMPUTER TECHNOLOGY)
- ปี 1940 คอมพิวเตอร์ถูกใช้ทางวิชาการและทางทหาร
- ปี 1954 นำ computer มาใช้ในธุรกิจเป็นเครื่องแรก (UNIVAC)
- เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ต่อธุรกิจได้จำกัดอยู่เฉพาะการประมวลผลข้อมูล
- ขยายไปสู่การปฏิบัติสำนักงานอื่น ๆ รวมทั้งการประมวลผลคำและการสื่อสาร
คอมพิวเตอร์ คืออะไร
คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถรับข้อมูลและคำสั่งแล้วนำไปประมวลผล
เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
- หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
- หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU)
- หน่วยแสดงผล (Output Unit)
- หน่วยความจำสำรอง (Secondary Storage Unit)
เทคโนโลยีการสื่อสาร (COMMUNICATION TECHNOLOGY)
- Telegraph (โทรเลข)
- Telephone (โทรศัพท์)
- Dictation Equipment (เครื่องบันทึกตามคำบอก)
- Facsimile Teletype Writer
- Electronic Mail
CONSUMER ELECTRONICS
สารสนเทศทุกรูปแบบ ข้อมูล ภาพ เสียง วิดีโอ จะถูกเปลี่ยนเป็นสัญญาณดิจิตอลที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและจัดการได้ ผลที่สุดคือ เครื่องมือชิ้นใหม่ที่มีความสามารถและมีประสิทธิภาพมากสำหรับ electronic home และ electronic office
Case : TRUE "ยิ่งรวมกัน ยิ่งดีขึ้น"
- True Visions (สีชมพู่)
- True Move (สีเหลือง)
- True Life (สีเขียวตอง)
- True Money (สีส้ม)
- True Online (สีฟ้า)
- True Corporate Advertising
ผู้นำ Convergence เจ้าแรก
การติดต่อสื่อสารในสำนักงาน
- การติดต่อสื่อสารเป็นกระบวนการในการส่งหรือสื่อและแสดงข้อความทั้งที่เป็นคำพูดและแบบไม่ใช่คำพูด
- ผู้บริหารสำนักงานควรให้ความสำคัญกับการติดต่อสื่อสารที่มีผลกระทบโดยตรงต่อตัวบุคคลและระบบเครือข่ายอย่างมาก
กระบวนการติดต่อสื่อสาร
- ผู้ส่ง (Sender) เป็นต้นทางของการสื่อสารข้อมูล มีหน้าที่เตรียมสร้างข้อมูล อาจจะเป็นสัญญาณต่าง ๆ
เช่น สัญญาณภาพ ข้อมูล ข้อความและเสียง เป็นต้น
- การใส่รหัส (Encode) เป็นการเรียบเรียงจัดการในรูปแบบของสัญลักษณ์ (เช่น คำพูด ตัวเลข เป็นต้น)
เพื่อแปลงสภาพส่งต่อไปยังผู้รับ โดยผ่านสื่อต่าง ๆ เป็นช่องทางการติดต่อสื่อสาร
เช่น สายโทรศัพท์ สัญญาณทีวี สายไฟเบอร์ออฟติก หรือแม้แต่คลื่นทางอากาศ (Air Wave)
เป็นต้น
- ผู้รับ (Receiver) หน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาให้ และพิจารณาข่าวสารโดยการถอดรหัส
กระบวนการติดต่อสื่อสาร
- การถอดรหัส (Decode) เป็นการแปลงหรือถอดความข่าวสารจากความคิดของผู้ส่งมายังความคิดของผู้รับ ช่วงการส่งผ่านเพื่อสื่อสารจากผู้ส่งจนมาถึงผู้รับ เรียกว่า Transmission ส่วนช่วงส่งข้อมูลสื่อสารกลับให้ทราบเรียกว่า Feedback
- เสียงรบกวน (Noise) อุปสรรคที่ทำให้การติดต่อสื่อสารไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิผลเท่าที่ควร
ประเภทการติดต่อสื่อสาร
แบ่งตามโครงสร้างองค์การ
- Downward เป็นการติดต่อสื่อสารจากระดับบนสู่ระดับล่าง ข่าวสารจะมีทิศทางตรงสู่ผู้รับซึ่งอาจมีจำนวนมากกว่า 1 คนก็ได้
- Upward เป็นการติดต่อสื่อสารจากระดับล่างสู่ระดับบนตามสายการบังคับบัญชา
- Lateral เป็นการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ส่งและผู้รับในระดับเดียวกันตามสายงาน
ประเภทการติดต่อสื่อสาร
แบ่งตามเป้าหมายในการติดต่อสื่อสาร
- Internal เป็นการติดต่อสื่อสารภายในองค์การ ซึ่งใช้สื่อภายในสำนักงานสมัยใหม่ประเภทต่างๆ
- External เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้าและสาธาณชน ต้องมีการติดต่อสื่อสารภายนอก
ปัจจุบันมีเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารที่ช่วยให้การสื่อสารกับภายนอกทำให้สะดวก รวดเร็ว และดียิ่งขึ้น
ประเภทการติดต่อสื่อสาร
แบ่งตามรูปแบบ
- Verbal เป็นการติดต่อสื่อสารประกอบด้วยคำไม่ว่าจะเป็นการเขียนหรือพูด
- Nonverbal เป็นการติดต่อสื่อสารซึ่งไม่ได้ใช้การพูดหรือเขียน แต่มาจากท่าทาง ทัศนคติ และอารมณ์ ความรู้สึกหรือแม้แต่กิริยาอาการสัมผัส
ประเภทการติดต่อสื่อสาร
แบ่งตามลักษณะการติดต่อสื่อสาร
- Formal เป็นการติดต่อสื่อสารแบบเป็นทางการ มีลายลักษณ์อักษร หรือสื่อด้วยคำพูดข้อความตามรายงานอย่างชัดเจน
- Informal เป็นการสื่อสารแบบไม่เป็นทางการ เกิดขึ้นตามสถานการณ์ทั่วไป หรือสถานการณ์ในสภาวะส่วนตัว
สาเหตุของปัญหาอุปสรรคในการติดต่อสื่อสารจากมนุษย์
- การรับรู้แตกต่างกัน (Perception) เพราะพื้นฐานการเรียนรู้ การศึกษาประสบการณ์ และประวัติของแต่ละคน มีความแตกต่างกัน
- รูปแบบแตกต่างกัน (Style)
- สถานภาพแตกต่าง (Status)
- วัฒนธรรม ภาษา มาตรฐาน และพฤติกรรมแตกต่าง
- ความคิดเห็นแตกต่าง
- ความรู้ความชำนาญและความสามารถแตกต่าง
- ปัจจัยอื่นๆ เช่น อารมณ์ (Mood) ทัศนคติ (Attitude) วุฒิภาวะ (Maturity) เป็นต้น
อุปสรรคจากองค์การและสื่อ
- บรรยากาศและสภาพแวดล้อมในสำนักงาน
- สื่อในการติดต่อสื่อสาร
- เวลา บางครั้งมีแรงกดดันจากเวลาในการติดต่อสื่อสารจากทั้งผู้ส่งและผู้รับ
- ระยะทาง มีผลต่อการสื่อสารแบบดั้งเดิม
เทคโนโลยีการติดต่อสื่อสาร
- ความสามารถในการสร้าง เก็บ ปฏิบัติการ และสื่อสาร ทุกรูปแบบของข้อมูลในลักษณะของ Digital
มีเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง
- ความเร็วที่เพิ่้มขึ้นจากระบบเทคโนโลยี
- เทคโนโลยีใหม่มีขนาดและต้นทุนที่ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ
คุณลักษณะของเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสาร
- เวลาและสถานที่ (Time and Place)
- กิจกรรมร่วมกัน (Interactivity)
- หลักการ One-to-One, One-to-Many หรือ Many-to-Many
- คนหรือหัวข้อเรื่อง (Person or Subject)
ปัจจัยการเลือกใช้เทคโนโลยีที่ถูกต้องและเหมาะสม
- Message
- Audlence
- Context
- Time
- Cost and Profit
ผลกระทบของเทคโนโลยีในสำนักงาน
- ผลิตภาพและการจ้างงาน
- การกระจายและการรวมงาน
- ความได้เปรียบเชิงแข่งขันและความเสี่ยง
- ข้อมูลข่าวสารมากเกินไป ทำให้เกิดผลกระทบต่อเวลา
- ความปลอดภัยและความส่วนตัว
- ความชำนาญงานที่ต้องการ
ระบบเครือข่้ายเทคโนโลยีในสำนักงาน
ระบบเครือข่ายในทางคอมพิวเตอร์หรือเทคโนโลยีข้อมูล หมายถึง
การสื่อสารข้อมูลหรือสารสนเทศระหว่างคอมพิวเตอร์ซึ่งมีการใช้งานอยู่ในที่ต่าง ๆ กัน
เช่น ในสำนักงาน ระหว่างองค์การในประเทศหรือระหว่างองค์การที่อยู่คนละประเทศ
- เครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet)
- อินทราเน็ต (Intranet)
- เอ๊กซ์ทราเน็ต (Extranet)
ประโยชน์ของอินทราเน็ต
- พัฒนาด้านข้อมูลข่าวสาร ให้มีความทันสมัย สะดวก รวดเร็ว ลดขั้นตอน ประหยัด
- ลดต้นทุนในการบริหารข้อมูลข่าวสาร
- ใช้เทคโนโลยีแบบเปิด เป็นประโยชน์ในการกระจายความเสี่ยงจากการทำธุรกรรมร่วมกัน
- มีความพร้อมในการเชื่อมโยงระบบอินเทอร์เน็ต
เอ๊กซ์ทราเน็ต (Extranet)
ลักษณะของการเชื่่่อมต่อ 2 ประเภท
- การเชื่อมต่อโดยตรง (Direct Link) เป็นการเชื่อมต่อระหว่างจุด 2 จุด
- การเชื่อมต่อแบบเครือข่ายเสมือน (Virtual Network) เป็นการเชื่อมต่อระหว่างระบบเครือข่ายอินทราเน็ตจำนวนหลายๆ เครือข่ายและสามารถเชื่อมผ่านอินเทอร์เน็ตได้ด้วยเช่นกัน
ระบบการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ตามระยะทาง
- ระบบเครือข่ายระยะใกล้ (Local Area Network: LAN)
- ระบบเครือข่ายระยะกลาง (Metropolitan Area Network:MAN)
- ระบบเครือข่ายระยะไกล (Wide Area Network:WAN)
ลักษณะการติดต่อสื่อสารในสำนักงาน
- การส่งข้อมูล (Data Sending)
- การนัดหมาย (Appointment)
- การประชุม (Meeting or Conference)
- การนำเสนอ (Presentation)
วันจันทร์ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2553
สรุปบทเรียนเรื่อง การพัฒนาระบบสารสนเทศ (30/11/2010)
การพัฒนาระบบสารสนเทศ(Information System Development)
วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle)
การพัฒนาระบบสารสนเทศเป็นกระบวนการในการสร้างระบบสารสนเทศขึ้นมาเพื่อใช้สำหรับแก้ปัญหา หรือสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับธุรกิจ และด้วยระบบสารสนเทศในยุคปัจจุบัน นับวันจะทวีความซับซ้อนยิ่งขึ้น ดังนั้น โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศจึงจำเป็นต้องได้รับการวางแผนที่ดี
การพัฒนาซอฟต์แวร์ ตามปกติแล้วจะประกอบไปด้วยกลุ่มกิจกรรม 3 ส่วนหลักๆ คือ การวิเคราะห์ (Analysis),การออกแบบ(Design) และการนำไปใช้(Implementation) ซึ่งกิจกรรมทั้งสามอย่างนี้สามารถใช้งานได้ดีกับโครงการซอฟต์แวร์ขนาดเล็ก ในขณะที่ซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ จำเป็นต้องช้แบบแผนการพัฒนาซอฟต์แวร์ตามแนวทางของ SDLC จนครบทุกกิจกรรม ซึ่งแสดงได้ดังรูปในสไลด์ที่ผ่านมา ดังนี้
ระยะที่ 1 : การวางแผนโครงการ (Project Planning Phase)
ระยะที่ 2 : การวิเคราะห์ (Analysis Phase)
ระยะที่ 3 : การออกแบบ (Design Phase)
ระยะที่ 4 : การนำไปใช้ (Implementation Phase)
ระยะที่ 5 : การบำรุงรักษา (Maintenance Phase)
กรรมวิธีการพัฒนาระบบ(System Development Methodology)
นักวิเคราะห์ระบบ สามารถนำเครื่องต่างๆ มาประยุกต์ใช้กับ การวิเคราะห์และออกแบบ ซึ่งเรียกว่า “Methodology” โดย Methodology นั้นเป็นแนวทางที่มีการนำโมเดล (Model), เครื่องมือ(Tools) และเทคนิค(Techniques) ต่างๆ มาใช้กับการพัฒนาซอฟต์แวร์ ซึ่งจัดเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาด้วยวิธีการพัฒนาซอฟต์แวร์นั่นเอง
โมเดล (Models)
โมเดลที่ใช้ในการพัฒนาระบบ ประกอบด้วยการนำเสนอสิ่งที่เกี่ยวกับการอินพุต เอาต์พุต โปรเซส ข้อมูล ออบเจ็กต์ การโต้ตอบระหว่างออบเจ็กต์ สถานที่ตั้ง เครือข่าย และอุปกรณ์อื่นๆ ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วโมเดล จะนำเสนอในรูปแบบของภาพ ซึ่งประกอบด้วยไดอะแกรม (Diagram) หรือแผนภูมิ (Chart) ตัวอย่างโมเดลต่างๆ
เครื่องมือ (Tools)
เครื่องมือที่ช่วยในการพัฒนาระบบ ประกอบด้วยซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ใช้สนับสนุนการใช้งานเหล่านี้สามารถนำมาใช้งานเพื่อสร้างแบบจำลองหรือโมเดลต่าง และรวมถึงส่วนประกอบอื่นๆ ตัวอย่างเครื่องมือต่างๆ ประกอบด้วย
-โปรแกรมจัดการโครงการ
-โปรแกรม/เครื่องมือช่วยวาด
-โปรแกรมประมวลคำ หรือโปรแกรมเอดิเตอร์
-เคสทูลส์ (CASE Tools)
-โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล
-โปรแกรมแปลงไดอะแกรมเป็นรหัสคำสั่ง
เทคนิค (Techniques)
เทคนิคในการพัฒนาระบบ คือกลุ่มแนวทางที่ช่วยในการชี้นำ (Guidelines) เพื่อให้นักวิเคราะห์ระบบสามารถนำเทคนิคไปดำเนินกิจกรรมการพัฒนาระบบเพื่อให้เกิดความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น ตัวอย่างเทคนิคต่างๆ ประกอบด้วย
-เทคนิคการบริหารโครงการ
-เทคนิคการสัมภาษณ์
-เทคนิคการสร้างแบบจำลองข้อมูล
วิธีการพัฒนาระบบ
1.วิธีการพัฒนาระบบแบบดั้งเดิม (The Traditional Approach)
2.วิธีการพัฒนาระบบเชิงวัตถุ (The Object-Oriented Approach)
วิธีการพัฒนาระบบแบบดั้งเดิม (TheTraditional Approach) มีเทคนิคหลากหลาย ซึ่งตั้งอยู่บนพื้นฐานของการพัฒนาระบบสารสนเทศด้วยวิธีโครงสร้างและการโปรแกรมแบบโมดูล โดยมักเรียกวิธีนี้ว่า การพัฒนาระบบเชิงโครงสร้าง (Structured System Development)
การโปรแกรมเชิงโครงสร้าง (Structured Programming)
การโปรแกรมเชิงโครงสร้างนอกจากช่วยให้การเขียนโปรแกรมมีคุณภาพแล้ว ยังมีส่วนช่วยให้โปรแกรมเมอร์สามารถอ่านโปรแกรมเพื่อทำการตรวจสอบและทำการแก้ไขปรับปรุงโปรแกรมได้ง่ายขึ้น โดยแนวทางในการโปรแกรมเชิงโครงสร้าง ประกอบด้วย
1.ชุดคำสั่งที่เรียงเป็นลำดับ (Sequence)
2.ชุดคำสั่งที่มีการตัดสินใจ (Decision)
3.ชุดคำสั่งที่มีการทำงานเป็นลูปหรือการทำซ้ำ (Repetition)
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
-โมดูลสามารถแสดงได้ในลักษณะแผนภาพด้วยการใช้แบบจำลองที่เรียกว่า ผังโครงสร้าง (Structure Chart)
ความเป็นหนึ่งเดียวสูง (Highly Cohesive)
-หมายถึงโมดูลนั้นมีความเป็นหนึ่งเดียว ในการทำงานให้สำเร็จได้ด้วยฟังก์ชันหน้าที่เดียว
ความสัมพันธ์ระหว่างโมดูลแบบหลวมๆ (Loosely Coupled)
-หมายถึงความสัมพันธ์ระหว่างโมดูลที่ร่วมทำงานกันนั้นมีความอิสระต่อกันสูงหรือมีความขึ้นต่อกันต่ำ
#การวิเคราะห์และออกแบบเชิงโครงสร้างสมัยใหม่(Modern Structured Analysis and Design)
#ความต้องการของระบบ (System Requirements) เป็นการกำหนดว่าระบบต้องทำอะไรในรายละเอียด
กระบวนการต่างๆ ในแผนภาพกระแสข้อมูลจะมีข้อมูลเกี่ยวข้อง แบบจำลองดังกล่าวเรียกว่า แผนภาพอีอาร์ (Entity-Relationship Diagram : DFD) ซึ่งแสดงได้ดังรูปต่อไปนี้ โดยเป็นแบบจำลองข้อมูลที่แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลเป็นสำคัญ
วิธีการพัฒนาระบบเชิงวัตถุ (The Object-Oriented Approach)
- จัดเป็นวิธีใหม่ของการพัฒนาระบบ
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
กิจกรรมพื้นฐานของกระบวนการทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์ไว้อยู่ 4 ส่วนหลักๆ คือ
1.ข้อกำหนดซอฟต์แวร์ (Software Specification)
2.การพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software Development)
3.การตรวจสอบความถูกต้องของซอฟต์แวร์ (Software Validation)
4.วิวัฒนาการของซอฟต์แวร์ (Software Evolution)
คุณสมบัติของซอฟแวร์ที่มีคุณภาพ ประกอบด้วย
1.มีความถูกต้อง (Correctness)
2.มีความน่าเชื่อถือ (Reliability)
3.ใช้งานง่าย (User Friendliness)
4.บำรุงรักษาง่าย (Maintainability)
โมเดลการพัฒนาซอฟแวร์ (Software Development Process Models)
คือ แบบจำลองที่ใช้สำหรับเป็นตัวชี้นำถึงกิจกรรมหลัก (Key Activities) ในการพัฒนาซอฟแวร์ ด้วยการกำหนดรายละเอียดในแต่ละขั้นตอน เพื่อให้เกิดปัญหาในการพัฒนาน้อยที่สุด
Rapid Application Development (RAD)
RAD คือ การพัฒนาแอปพลิเคชันแบบรวดเร็ว ซึ่งมักใช้เครื่องมือสนับสนุนอย่าง CASE Tools ช่วยในการพัฒนา จึงส่งผลให้แอปพลิเคชันที่พัฒนาด้วยเทคนิค RAD นั้นใช้เวลาอันสั้น ด้วยการมุ่งเน้นด้านการลดต้นทุนและระยะเวลาในการพัฒนา
Joint Application Development (JAD)
1.การสนทนาร่วมกัน มุ่งเน้นความคล่องแคล่วและสะดวก ภายใต้กฎเกณฑ์ที่บังคับใช้
2.มีกลุ่มผู้ใช้ประมาณ 3-5 คนที่พร้อมเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ
3.นักพัฒนาที่มีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศประมาณ 2-3 คน
ประเภทของเคสทูลส์
ตามปกติแล้ว โดยทั่วไปเคสทูลส์จะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทด้วยกัน คือ
1.อัปเปอร์เคสทูลส์ (Upper CASE Tools)
2.โลเวอร์เคสทูลส์ (Lower CASE Tools)
Microsoft Visio
โปรแกรมอย่าง Visio จัดเป็นโปรแกรมประเภทเครื่องมือช่วยวาด (Drawing Tool) โดยนักวิเคราะห์สามารถนำมาใช้ในการวาดแบบจำลองระบบ หรือไดอะแกรมต่างๆ และตกแต่งให้สวยงามตามความต้องการได้
Visible Analyst
โปรแกรม Visible Analyst นี้จัดเป็นเคสทูลส์ที่นิยมนำมาใช้เป็นเครื่องมือการพัฒนาระบบในรูปแบบดั้งเดิม (Traditional Model)
Rational Rose
เป็นเครื่องมือที่ใช้สำหรับวิธีการพัฒนาระบบเชิงวัตถุ (Object-Oriented Approach)
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)