วันจันทร์ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2554

สรุปเนื้อหาวิชา โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี ครั้งที่2


การแทนที่ข้อมูลในหน่วยความจำหลัก
ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ จะมีการแทนที่ข้อมูลในหน่วยความจำหลักอยู่ 2 วิธี
1. การแทนที่ข้อมูลแบบ สแตติก (Static Memory Representation)
2. การแทนทีึ่ข้อมูลแบบไดนามิก (Dynamic Memory Representation)

 การแทนที่ข้อมูลแบบสแตติก
เป็นการแทนที่ข้อมูลที่มีการจองเนื้อที่แบบคงที่แน่นอนต้องมีการกำหนดขนาดก่อนการใช้งาน แต่มีข้อเสีย ไม่สามารถปรับขนาดให้เพิ่มขึ้นหรือลดลงได้ โครงสร้างข้อมูลที่มีการแทนที่หน่วยความจำหลักแบบสแตติก คือแถวลำดับ (Array)

 การแทนที่ข้อมูลแบบไดนามิก
เป็นการแทนที่ข้อมูลที่ไม่ต้องจองเนื้อที่ ขนาดของเนื้อที่ยืดหยุ่นได้ตามความต้องการของผู้ใช้หน่วยความจำที่ไม่ใช้สามารถส่งคืนเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ได้อีก โครงสร้างข้อมูลที่มีการแทนที่หน่วยความจำหลักแบบไดนามิกคือ ตัวชี้ หรือ พอยเตอร์ (Pointer)

 ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
เป็นวิธีการแก้ปัญหาต่างๆ อย่างมีระบบ มีลำดับขั้นตอนตั้งแต่ต้นจะกระทั่งได้ผลลัพธ์ สามารถเขียนได้หลายแบบ การเลือกใช้ต้องเลือกใช้ขั้นตอนวิธีที่เหมาะสม กระชับและรัดกุม

 ขั้นตอนวิธีที่ดีควรมีคุณสมบัติ ดังนี้
1. มีความถูกต้อง
2. ใช้เวลาในการปฏิบัติงานน้อยที่สุด
3. สั้น กระชับ มีเฉพาะขั้นตอนที่จำเป็นเท่านั้น
4. ใช้หน่วยความจำน้อยที่สุด
5. มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน
6. ใช้เวลาในการพัฒนาน้อยที่สุด
7. ง่ายต่อการทำความเข้าใจ

 การแสดงขั้นตอนวิธี
การเขียนด้วยผังงาน
(Flowchart)
ภาษาขั้นตอนวิธี (Algorithm Language)
ภาษาธรรมชาติ (Natural Language)


ผังงาน (Flowchart) เป็นการใช้สัญลักษณ์บอกขั้นตอนการทำงาน

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน



ภาษาขั้นตอนวิธี (Algorithm Language)
เป็นภาษาสำหรับเขียนขั้นตอนวิธี มีรูปแบบที่สั้น กระชับและรัดกุมและมีข้อกำหนด ดังต่อไปนี้
1. ตัวแปรจะต้องเขียนแทนด้วยตัวอักษร หรือตัวอักษรผสมตัวเลข
2. การกำหนดค่าให้ตัวแปร ใช้เครื่องหมาย
3. นิพจน์ที่เป็นการคำนวณจะมีลำดับขั้นของการคำนวณตามลำดับ คือวงเล็บ ยกกำลัง คูณหรือการ บวกหรือลบ เครื่องหมายระดับความสำคัญเท่ากัน คำนวณจากซ้ายไปขวา

 นิพจน์ที่เป็นตรรกศาสตร์ จะใช้เครื่องหมายในการเปรียบเทียบ คือ
= เท่ากับ ไม่เท่ากับ < น้อยกว่า > มากกว่า น้อยกว่าหรือเท่ากับ มากกว่าหรือเท่ากับ

4. ข้อความไปยังขั้นตอน ใช้รูปแบบ คือ
goto เลขที่ขั้นตอน

5. การเลือกทำตามเงื่อนไข จะต้องตรวจสอบเงื่อนไขก่อนทำงาน มีรูปแบบดังนี้
- แบบทางเลือกเดียว ใช้รูปแบบ คือ
if (condition) then statement 1
- แบบสองทางเลือก ใช้รูปแบบ คือ
if (condition) then statement 1
else statement 2

6. การทำงานแบบซ้ำ
- แบบทดสอบเงื่อนไขที่ต้นวงรอบ มีรูปแบบ ดังนี้
while (condition) do
statement
- แบบทำซ้ำด้วยจำนวนครั้งของการทำซ้ำคงที่ มีรูปแบบ
for a=b to n by c do
statement

7. คำอธิบาย เป็นข้อความที่อธิบายรายละเอียดของขั้นตอนการทำงาน จะอยู่ในเครื่องหมาย / และ /


คำถาม สัญญาลักษณ์ วงกลม ความหมายคืออะไร?


วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2554

สรุปรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี

สรุป
วิชา โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี (3652103) ตอนเรียน A1
อาจารย์ ปรมัตถ์ปัญปรัชญ์ ต้องประสงค์
วันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ.2554

โครงสร้างข้อมูล ( Data Structure )
ความหมาย แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ
ข้อมูล ( Data ) คือ ข้อเท็จจริงต่าง ๆ เป็นตัวเลขหรือไม่ก็ได้
โครงสร้าง ( Structure ) คือ ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในกลุ่ม
ดังนั้น โครงสร้างข้อมูล ( Data Structure ) คือ ความสัมพันธ์ของข้อมูลที่มีอยู่ในโครงสร้าง รวมทั้งกระบวนการในการจัดการข้อมูลในโครงสร้าง เช่น การ เพิ่ม แก้ไข ลบ เป็นต้น


ประเภทของโครงสร้างข้อมูล ปัจจุบันแบ่งเป็น 2 ประเภท

1.โครงสร้างข้อมูลทางกายภาพ ประกอบด้วยข้อมูล 2 ส่วน คือ
ข้อมูลเบื้องต้น
1.จำนวนเต็ม
2.จำนวนจริง
3.ตัวอักขระ

ข้อมูลโครงสร้าง
1.แถวลำดับ
2.ระเบียบนข้อมูล
3.แฟ้มข้อมูล

2.โครงสร้างข้อมูลทางตรรกะ ประกอบด้วยข้อมูล 2 ส่วน คือ

โครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น
1.ลิสต์
2.แสตก
3.คิว
4.สตริง

โครงสร้างข้อมูลแบบไม่เชิงเส้น
1.ทรี
2.กราฟ
คำถาม  โครงสร้างข้อมูลแบบไม่เชิงเส้น ประกอบด้วยอะไรบ้าง และแต่ละประเภทมีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร

วันเสาร์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2554

บทที่ 6 การจัดการข้อมูล

การจัดการข้อมูล     1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับข้อมูล
      
   1. แนวคิดเกี่ยวกับข้อมูลในสำนักงาน
          2.
การจัดการข้อมูลในสำนักงาน
          3. วิธีที่ใช้ในการจัดการข้อมูล
    
2. ระบบฐานข้อมูล
          1. แนวคิดเกี่ยวกับฐานข้อมูล
          2.
แนวทางการพัฒนาฐานข้อมูลในสำนักงาน
          3.
ตัวอย่างการพัฒนาฐานข้อมูลในสำนักงาน
     3.
ระบบความปลอดภัยของข้อมูลในสำนักงาน

          1.
แนวคิดด้านความปลอดภัยของข้อมูล
          2. ไวรัสคอมพิวเตอร์
          3.
การรักษาความปลอดภัยของข้อมูล

          1.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับข้อมูล

     1.1
แนวคิดเกี่ยวกับข้อมูลในสำนักงาน

     1.
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ

               ข้อมูล หมายถึง
ข้อเท็จจริงซึ่งเกี่ยวข้องกับบุคคล สถานที่ สิ่งของ หรือเหตุการณ์
ข้อมูลอาจจะเป็นได้ทั้งตัวเลข ตัวอักษร ข้อความ เสียง
                      
 ข้อมูลมักจะเกิดขึ้นอย่างไม่มีระเบียบ
                      
 ข้อมูลไม่ได้ผ่านกระบวนการประมวลผล
                สารสนเทศ หมายถึง
ข้อมูลที่ได้ถูกนำมาประมวลผลเพื่อใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงาน
หรือตัดสินใจเพื่อสนับสนุนในงานที่เกียวข้อง

          2.
ประเภทของข้อมูลในสำนักงาน

     2.1 ตามลักษณะของข้อมูล
        
      - Numeric Data
               - Character Data / text
              
- Voice
               - graphical data
               - image data
  
  2.2 ตามการคำนวณในคอมพิวเตอร์
               - Numeric Data
      
        - non-numeric data

          2.
ประเภทของข้อมูลในสำนักงาน

     2.3 ตามแหล่งที่มาของข้อมูล
    
          - ภายในองค์กร
               - ภายนอกองค์กร
     2.4
ตามหมวดหมู่เอกสารในสำนักงาน

               - ข้อมูลด้านการเงินงบประมาณ
ข้อมูลโต้ตอบทั่วไป ข้อมูลบริหารทั่วไป ข้อมูลบริหารบุคคล ข้อมูลเบ็ดเตล็ด
ข้อมูลการประชุมทั่วไป ข้อมูลพัสดุและก่อสร้าง ข้อมูลรายงานทั่้วไป ข้อมูลการตลาด
ข้อมูลการผลิตและบริการ
     2.5 ตามคุณสมบัติของข้อมูล
            
  - เชิงปริมาณ
               - เชิงคุณภาพ

        
 ความสำคัญของข้อมูลต่องานสำนักงานแยกตามระดับการทำงาน
               1.
ระดับบริหาร
               2. ระดับปฏิบัติการและบริการ
               3.
ส่วนอื่นๆ

          การจัดการข้อมูลในสำนักงาน
     1.
ความจำเป็นของจัดการข้อมูลในสำนักงาน

          1.1 data volume
        
 1.2 data sharing
          1.3 data accuracy
          1.4 data
integrity
          1.5 data security
     2.
กิจกรรมการจัดการข้อมูลในสำนักงาน

          1.1 Data capture / data
acquisition
          1.2 data entry
          1.3 data editing (data
verification  data validation)
          1.4 data storing
          1.5
data enquiry and data retrieval
          1.6 data maintenance (update
 backup)
          1.7 data recovery
          1.8 data retention
    
     1.9 data scraping

        
 วิธีที่ใช้ในการจัดการข้อมูล
     1.
ความหมายของแฟ้มข้อมูล

               แฟ้มข้อมูล (file หรือ folder)
คือ
การจัดเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการบันทึกข้อมูลเก็บไว้ในที่เดียวกันในหน่วยความจำสำรอง
เช่น ในฮาร์ดดิสก์  ดิสเกตต์ แผ่นซีดีรอม  ข้อมูลที่เก็บในแฟ้มข้อมูลจะเป็นตัวเลข
ข้อความ รูปภาพ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์
     2.
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูล

               2.1
แบบเขตข้อมูลและระเบียนข้อมูล

          เขตข้อมูล (field)
ประกอบด้วย ตัวเลขหรือตัวอักษรหลาย ๆ ตัว ที่มีคุณลักษณะเดียวกัน
        
 ระเบียบข้อมูล (Record) ประกอบด้วย เขตข้อมูลหลาย ๆ เขตข้อมูลรวมกัน
  
       แฟ้มข้อมูล (File) ประกอบด้วย ระเบียนข้อมูลหลาย ๆ
ระเบียนรวมกัน


               2.2 แบบลิสต์ (list) และอะเรย์
(Array)

          ลิสต์ (List)
คือการกำหนดรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลแบบต่อเนื่องกันไป คั่นด้วยอักขระพิเศษ เช่น
คอมม่า สแลช หรืออื่น ๆ และมีคำพิเศษที่แตกต่างเพื่อระบุถึงค่าสุดท้ายในลิสต์

          อะ้เรย์ (Array)
คือการกำหนดค่าเป็นตารางหรือ แมทริกช์
ซึ่งแ่ต่ละตำแหน่งแทนความหมายของแต่ละเรื่องแล้วแต่การกำหนดของผู้จัดทำตาราง


               2.3 แบบออบเจ็กต์

     3. ประเภทของแฟ้มข้อมูล

               3.1
ตามลักษณะข้อมูลที่จัดเก็บ

          แฟ้มข้อมูลโปรแกรม (Program file)

          แฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูล (Data
file)

               - text file

               - graphic file แฟ้มข้อมูลที่เป็นรูปภาพ :
.jpg , .gif

               - sound file
แฟ้มข้อมูลที่เก็บเสียงรหัสแบบดิจิตัล : .mid , .wav

               - video file แฟ้มข้อมูลที่เป็นภาพยนต์ :
.avi , .mpg

               3.2 ตามการใช้งาน

                    1 แฟ้มข้อมูลหลัก

                    2 แฟ้มข้อมูลรายการเปลี่ยนแปลง

                    3 แฟ้มข้อมูลรายงาน

                    4 แฟ้มข้อมูลสำรอง

     4. การเรียกใช้แฟ้มข้อมูล

          การดูรายละเอียดแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่
 การเปิดแฟ้มข้อมูล การปิดแฟ้มข้อมูล การบันทึกแฟ้มข้อมูล การแก้ไขแฟ้มข้อมูล
การลบแฟ้มข้อมูล

     5.
วิธีการเข้าถึงข้อมูลที่จัดเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูล

               5.1 แบบเรียงลำดับ (sequential
access)

 การไล่ไปตั้งแต่ตันระเบียนและเปรียบเทียบหรือตรวจสอบว่าเป็นระเบียนที่ตรงตามต้องการหรือไม่

               5.2 แบบโดยตรงหรือแบบสุ่ม (Direct /
random access)
เป็นวิธีเข้าถึงข้อมูลได้โดยตรง

                    5.2.1 แบบลำดับดัชนี (indexed
sequential)
มีการจัดเก็บข้อมูลเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกเป็นส่วนคีย์เพื่อใช้ค้นหา
และเชื่อมโยงไปยังส่วนที่ 2 ที่เป็นรายละเอียดข้อมูล

                    5.2.2 แบบโดยตรง (direct
access)
เป็นการนำค่าของคีย์ที่ใช้ในการค้นหามาหาตำแหน่งของระเบียนข้อมูล

     6.
ปัญหาการใช้แฟ้มข้อมูลในการจัดการข้อมูล

               6.1 การดูแลข้อมูล

                    6.1.1 Data redundancy

                    6.1.2 Data independence

               6.2 ปัญหาอื่น ๆ

                    6.2.1 Data dispersion

                    6.2.2 Resource utilization



          ระบบฐานข้อมูล

     แนวคิดเกี่ยวกับฐานข้อมูล

     1. ความหมายของฐานข้อมูล

          ฐานข้อมูล หมายถึง
แหล่งรวมข้อมูลที่มีความสัมพันธ์ักันในด้านใดด้านหนึ่งจัดเก็บให้เป็นระเบียบ

          ข้อมูลที่จัดเก็บในฐานข้อมูลจะประกอบด้วย

               1 เนื้อหาสาระของข้อมูล
คือข้อมูลในเรื่องต่างๆที่ต้องการ

               2 คำอธิบายข้อมูล
เพื่ออธิบายคุณสมบัติหรือรายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลที่จัดเก็บลงในฐานข้อมูล

  
       ประโยชน์ของฐานข้อมูล
     -
การลดความซ้ำซ้อนในการจัดเก็บข้อมูล
     -
การลดความขัดแย้งหรือความต่างกันของข้อมูล
     -
การพัฒนาระบบงานใหม่ทำได้สะดวกเร็ว ใช้เวลาสั้น และมีค่าใช้จ่ายต่ำลง
     -
การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลทำได้ง่าย
     -
การทำให้ข้อมูลมีความถูกต้องมากขึ้น
     -
ความสามารถในการป้องกันการสูญหายของข้อมูลหรือป้องกันฐานข้อมูลถูกทำลาย

    
     เครื่องมือในการจัดการฐานข้อมูล
     ระบบจัดการฐานข้อมูล
 เป็นโปรแกรมที่เขียนที่อำนวยความสะดวกในการจัดทำและนำข้อมูลจากฐานข้อมูลมาใช้งาน
รวมทั้งการมีระบบความปลอดภัยในการเข้าถึงข้อมูลที่จัดเก็บในฐานข้อมูลโดยการกำหนดสิทธิ์ของผู้ใช้ข้อมูลแต่ละคน

  
       โครงสร้างของฐานข้อมูล
     ฐานข้อมูล
ประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลมากกว่าหนึ่งแฟ้มขึ้นไปที่มีความสัมพันธ์กัน
    
โครงสร้างข้อมูลในฐานข้อมูลแบ่งเป็น 2 ลักษณะ
     1.
โครงสร้างเชิงกายภาพ
เป็นการกำหนดจากวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่าง ๆ เช่น
เนื้อที่ ตำแหน่งการจัดเก็บ
     2. โครงสร้างเชิงตรรกะ
เป็นการกำหนดรูปแบบและความสัมพันธ์ของข้อมูลในฐานข้อมูล

        
 การศึกษาเบื้องต้นเพื่อจัดทำฐานข้อมูล
    
เพื่อทำความเข้าใจโครงสร้างการทำงาน ปัญหาการทำงานและขอบเขตของการจัดทำฐานข้อมูล
ประกอบด้วย
     1. การวิเคราะห์องค์การ ศึกษานโยบาย วัตถุประสงค์
สภาพการทำงาน โครงสร้างของหน่วยงาน
     2. การกำหนดปัญหาและเงื่อนไข
ศึกษาปัญหาจากการปฏิบัติงาน ระบบข้อมูล การเรียนใช้ข้อมูลและผู้ใช้ฐานข้อมูล
  
  3. การกำหนดวัตถุประสงค์ การจัดทำฐานข้อมูลและผู้ใช้ฐานข้อมูล
    
4. การกำหนดขอบเขต ให้ครอบคลุมงานองค์การเฉพาะบางส่วนหรือทั้งหมด

  
       การออกแบบฐานข้อมูล
     ขั้นตอนในการออกแบบฐานข้อมูลมี 4
ขั้นตอน
          1. การออกแบบระดับแนวคิด
          2.
การเลือกโปรแกรมจัดการ
          3. การออกแบบระดับตรรกะ
          4.
การออกแบบระดับคุณภาพ

          การออกแบบระดับแนวคิด (conceptual
design)

     1. การวิเคราะห์ข้อมูลและความต้องการใช้ข้อมูล
ในด้านต่าง ๆ ได้แก่ ความต้องการใช้สารสนเทศ ผู้ใช้ข้อมูล แหล่งที่มา
และบทบาทของสารสนเทศในด้านความสัมพันธ์และปริมาณของข้อมูล
     2.
การสร้างความสัมพันธ์ของข้อมูลโดยใช้แบบจำลอง ER**

     3.
การนอร์มัลโลเซชั่้น

เป็นการตรวจสอบความซ้ำซ้อนและจัดกลุ่มข้อมูลให้เหมาะสม

        
 แบบจำลอง ER(ER Model)
     Entity หมายถึง ข้อมูลหลักได้แก่
ชื่อคน เหตุการณ์ แผนก
     Attribute หมายถึง
รายละเอียดข้อมูลภายในเอนทิตี้
     Relationship หมายถึง
การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ แบบ 1:1 , แบบ 1:m และแบบ m:m
     กำหนด
primary key ม foreign key

          การเลือกโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล
(DBMS software selection)

     1. ค่าใช้จ่้าย ได้แก่
ราคาของโปรแกรม ค่าบำรุงรักษา ค่าลิขสิทธิ์ ค่าติดตั้งและดำเนินการ ค่าฝึกอบรม
และค่าใช้จ่ายในการปรับเปลี่ยนระบบเดิม
     2.
คุณสมบัติของโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล

มีเครื่องมือช่วยในการจัดทำให้ง่ายขึ้น
     3. โครงสร้างฐานข้อมูล
นิยมใช้โครงสร้างข้อมูลเชิงสัมพันธ์
     4.
ความสามารถใช้กับหลายแพลตฟอร์ม

     5.
การใช้ทรัพยากรของโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล
เช่น เนื้อที่ หน่วยความจำ
ความเร็วขั้นต่ำ

          การออกแบบระดับกายภาพ (Physical
design)

    
เป็นการกำหนดตำแหน่งของฐานข้อมูลที่จะบันทึกบนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น การกำหนด
Track
     กำหนดวิธีเข้าถึงข้อมูลในฐานข้อมูล เช่น การใช้ดัชนี
    
กำหนดรายละเอียดอื่นๆ ได้แก่ การกำหนดเซกเตอร์ บล็อก ขนาด
บัฟเฟอร์เนื้อที่หน่วยความจำ เวลาที่จะเข้าถึงข้อมูล

        
 การจัดทำและนำข้อมูลเข้าสู่ฐานข้อมูล
    
การกำหนดเนื้อที่เพื่อจัดเก็บตารางต่าง ๆในฐานข้อมูล
    
นำข้อมูลไปจัดเก็บในตารางต่าง ๆในฐานข้อมูล
    
กำหนดความปลอดภัยของการเข้าใช้ฐานข้อมูล เช่นกำหนดรหัสผ่าน
สิทธิในการเข้าใช้ข้อมูล

          การทดสอบและประเมินผล
    
เป็นการทดสอบการทำงานของฐานข้อมูลที่จัดทำขึ้นก่อนนำไปใช้จริงครอบคลุมถึง
      
   - ประสิทธิภาพการทำงานของฐานข้อมูล
          -
หากมีปัญหาจะต้องย้อนไปทบทวนและปรับแก้ฐานข้อมูลที่ออกแบบไว้
ตั้งแต่ระดับแนวคิดจนถึงระดับกายภาพให้เหมาะสม
รวมทั้งการอัพเกรดฮาร์ดแวร์หรือโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล

        
 การใช้งานฐานข้อมูล
     เป็นการนำฐานข้อมูลมาใช้งาน ได้แก่
        
      - การสอบถามข้อมูลในฐานข้อมูลผ่านภาษาสอบถาม (query language)
ภาษาที่ใช้ในการนำข้อมูลจากฐานข้อมูลมาใช้งาน
               -
การจัดทำรายงานต่างๆ จากฐานข้อมูล

          การบำรุงรักษา
    
การบำรุงรักษาฐานข้อมูลมีได้หลายลักษณะ
     การบำรุงรักษาแบบ preventive
การสำรองข้อมูลในฐานข้อมูล
     การบำรุงรักษาแบบ corrective
การกู้ฐานข้อมูลขึ้นมาในกรณีฐานข้อมูลไม่ทำงานหรือมีปัญหา
     การบำรุงรักษาแบบ
adaptive การปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานของฐานข้อมูลให้ทำงานได้เร็วขึ้น
(enhancing performance)
การเพิ่มเติมเอนทิตี้หรือแอดทริบิวต์เข้าไปในฐานข้อมูล
    
การดูแลการใช้ฐานข้อมูลของผู้ใช้ ที่มีอยู่เดิมและเป็นผู้ใช้ใหม่

        
 ตัวอย่างการพัฒนาฐานข้อมูลในสำนักงาน
     1.
การศึกษาเบื้องต้นเพื่อจัดทำฐานข้อมูล

          1.1 การวิเคราะห์องค์การ
วิเคราะห์ความต้องการใช้ฐานข้อมูล ศึกษาแบบฟอร์มและรวยงานที่ใช้ในการทำงาน
    
     1.2 กำหนดปัญหาและเงื่อนไข
          1.3
การกำหนดวัตถุประสงค์และขอบเขตของการจัดทำฐานข้อมูล
     2.
การออกแบบฐานข้อมูล

          2.1 เอนทิตี้
แอตทริบิวต์และความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล
          2.2 คีย์หลัก
        
 2.3 ตารางสำหรับฐานข้อมูล
     3.
การจัดทำและนำข้อมูลสู่ฐานข้อมูล

          3.1
กำหนดชื่อฐานข้อมูลที่ต้องการสร้างใหม่
          3.2
สร้างตารางที่มีในฐานข้อมูลการขาย
          3.3
กำหนดชื่อแอตทริบิวต์หรือฟิลด์ต่างๆ ที่มีในแต่ละตาราง
          3.4
สร้างความสัมพันธ์ของแต่ละตารางที่มีในฐานข้อมูล
          3.5
การนำข้อมูลเข้าไปเก็บในฐานข้อมูล
     4.
การนำฐานข้อมูลมาใช้งาน



        
 แนวคิดด้านความปลอดภัยข้อมูล

     1.
ปัจจัยที่ทำให้เกิดความเสียหายต่อข้อมูลในสำนักงาน
     2.
รูปแบบการก่ออาชญากรรมคอมพิวเตอร์ที่สร้างความเสียหาย แก่ข้อมูล
     3.
อาชญากรคอมพิวเตอร์

        
 1. ปัจจัยที่ทำให้เกิดความเสียหายต่อข้อมูลในสำนักงาน
    
1.1 คน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ
          -
พนักงานของหน่วยงานที่ไม่เจตนาทำความเสียหายแก่ข้อมูล
          -
พนักงานของหน่วยงานที่เจตนาทำความเสียหายแก่ข้อมูล
     1.2 ฮาร์ดแวร์
อุปกรณ์ต่างๆไม่ทำงานหรือมีปัญหา
     1.3 ซอฟต์แวร์
มีการทำงานผิดพลาด
     1.4 ไวรัสคอมพิวเตอร์
     1.5
ภัยธรรมชาติ
เช่น การเกิดน้ำท่วม ไฟไหม้

          2.
รูปแบบการก่ออาชญากรรมคอมพิวเตอร์ที่สร้างความเสียหายแก้ข้อมูล

    
ทำให้เกิดความเสียหายต่อโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ต่างๆและความเสียหายต่อข้อมูล
มีรูปแบบต่างๆดังนี้
     1. ดาด้าดิดลิ่ง (data diddling)
เช่นพนักงานของบริษัทอาจจะปลอมแปลงเอกสารหรือปรับเปลี่ยนข้อมูลเพื่อหาผลประโยชน์ใส่ตัว
  
  2. ม้าโทรจัน (trojan horse)
เป็นการทำอาชญากรรมโดยผู้ที่ได้รับความเสียหายไม่รู้ตัวหรือไม่ทันสังเกตเห็นถึงความผิดปกติที่เกิดขึ้น
  
  3. การโจมตีแบบซาลามิ (salami-attack)
เกี่ยวข้องกับการนำเศษเงินที่เป็นทศนิยมมารวมเป็นก้อนโต
     4. แกรปดอร์
(Trapdoor) หรือ แบคดอร์ (backdoor)

เป็นจุดที่เป็นความลับในโปรแกรมที่จัดทำขึ้นเป็นพิเศษ
เพื่อเข้าสู่โปรแกรมหรือโมคูลหนึ่งโมคูลใดของโปรแกรมได้โดยตรง
เพื่อใช้ในระหว่างการพัฒนาโปรแกรม
     5. การสงครามแบบอิเล็กทรอนิกส์
(eletromic warfare)
โดยการทำลายระบบคอมพิวเตอร์ เช่นหยุดทำงาน
หรือลบข้อมูลในหน่วยความจำ
     6. ลอจิกบอมบ์ (logic bomb)
การเขียนโปรแกรมโดยกำหนดเงื่อนไขเจาะจงไว้ล่วงหน้า เมื่อมีเหตุการณ์ตรงตามเงื่อนไข
โปรแกรมจะทำงานทันที
     7. อีเมลมอมบ์ (e-mail bomb)
เป็นการทำความเสียหายโดยส่ง e-mail ให้เป็นจำนวนมาก จนไม่มีที่เหลือ

      
   3. อาชญากรคอมพิวเตอร์ (Computer criminal)
     คือ
คนที่เกี่ยวข้องกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ที่สร้างความเสียหายในด้านฮาร์ดแวร์
ซอฟต์แวร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และข้อมูล ประกอบด้วย
     1.
ลูกจ้างของกิจการ (employee)
80% ของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ เช่น
การขโมยความลับของข้อมูล การทำลายเพื่อการแก้แค้น
     2.
ลูกค้าหรือคู่ค้าของกิจการ (client/supplier)

ได้รับอนุญาตเข้ามาในระบบคอมพิวเตอร์เพื่อธุรกิจแล้วสร้างความเสียหาย
     3.
บุคคลทั่วไป (Outside user)
คนใช้คอมพิวเตอร์ทั่วไป
ไม่มีส่วนในการดำเนินธุรกรรม แบ่งเป็น มือสมัครเล่น และมืออาชีพ

        
 แฮคเกอร์และแดรกเกอร์
     คือ
บุคคลที่่ล่วงล้ำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับอนุญาตหรือไม่มีึสิทธิ์เข้าไปใช้เครื่องคอมพิวเตอร์
  
  ความแตกต่างระหว่างแฮกเกอร์และแดรกเกอร์
     แฮคเกอร์
ไม่ได้ทำความเสียหายแก่ระบบคอมพิวเตอร์ ทำเพราะอยากรู้ อยากทดลอง
อยากให้เห็นจุดอ่อนด้านความปลอดภัย
     แดรกเกอร์ เจตนาต้องการทำลาย
จารกรรมข้อมูล ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และทรัพยากร

          3.3.2
ไวรัสคอมพิวเตอร์

     1. ความหมายของไวรัสคอมพิวเตอร์ คือ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เขียนขึ้นโดยมีความสามารถในการแพร่กระจายจากระบบคอมพิวเตอร์หนึ่งไปยังระบบคอมพิวเตอร์อื่นๆ
โดยแทรกไปกับโปรแกรมหรือข้อมูลหรือซ่อนตัวอยู่ในหน่วยความจำ
     2.
วิธีการแพร่ระบาดของไวรัสคอมพิวเตอร์

               2.1 ทางดิสเกดต์
(disktle)
               2.2 ทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (computer network เช่น
e-mail ซ่อนตัวในโปรแกรมในดาวน์โหลดมาจากเครือข่าย

     3.
ความเสียหายที่เกิดจากไวรัสคอมพิวเตอร์

    
ตัวอย่างความเสียหายที่เกิดจากโปรแกรมไวรัส
     ปรากฏข้อความในลักษณะต่างๆ เช่น
ภาพ เสียง สร้างความรำคาญให้แก่ ผู้ใช้งาน
     การลบหรือทำลายโปรแกรมหรือข้อมูล
บางส่วนหรือทั้งหมด
     การทำให้โปรแกรมหรือข้อมูลใช้งานไม่ได้
    
การทำให้โปรแกรมทำงานผิดๆ ถูกๆ การทำงานไม่เป็นไปตามที่เคยเป็น
    
การขยายหรือแพร่กระจายตัวในคอมพิวเตอร์ จนไม่มีเนื้อที่เหลือ
    
การควบคุมการทำงานบางคำสั่งของโปรแกรมระบบ ทำให้อุปกรณ์ทำงานไม่ได้
    
4. ประเภทของไวรัสคอมพิวเตอร์
               4.1
บู้ตเซกเตอร์ไวรัส (Boot sector virus)

โปรแกรมไวรัสที่แทรกตัวในตำแหน่งหน่วยความจำที่เรียกว่า Boot sector
        
 ตัวอย่างเช่น AntiCMOS , AntiEXE , Ripper, NYB
               4.2 เมโมรี
เรสซิเด้นท์ ไวรัส (memory resident virus)

          เมโมรี
เรสซิเด้นท์

เป็นตำแหน่งในหน่วยความจำหลักใชัีเป็นที่อยู่ของโปรแกรมระบบที่ใช้งาน บ่อยๆ
ควบคุมการทำงานโดยเก็บไว้ตลอดเวลาที่คอมพิวเตอร์ทำงาน เรียกว่า โปรแกรม TSR
    
          4.3 แมคโคร ไวรัส (Macro virus)
          แมคโคร คือ
กลุ่มคำสั่งคอมพิวเตอร์ที่เขียนขึ้นโดยรวมเอาคำสั่งหลายคำสั่งมารวมไว้ภายใต้คำสั่งสั้นๆ
เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานเช่น open close print exit
          ตัวอย่างเช่น
Concept เป็นแมคโครไวรัสใน Microsoft Word
          Laroux เป็นแมคโครไวรัสใน
Microsoft Excel
               4.4 ไฟล์ไวรัส (file virus)
เป็นโปรแกรมไวรัสที่แทรกตัวเข้าไปใน executable file ซึ่งเป็น .EXE หรือ .COM
  
            4.5 มัลติพาร์ไทต์ไวรัส (multipartite virus)
        
 เป็นไวรัสที่ผสมคุณสมบัติของ Boot sector และ file virus เข้าด้วยกัน
        
 ไวรัสนี้แทรกตัวใน Boot sector หรือในแฟ้ม .EXE หรือ .COM
        
 ไวรัสสามารถเคลื่อนย้ายออกจากหน่วยความจำหลักได้ชั่วคราวเพื่อหลีกเลี่ยงการตรวจค้น
โดยโปรแกรม anti virus
               4.6 โปรแกรมอื่นๆ เช่น ลอจิกบอมบ์
ม้าโทรจัน วอร์ม
ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ก่อความเสียหายแก่ข้อมูลและผู้ใช้คอมพิวเตอร์
     5.
ลักษณะการแทรกตัวของไวรัสคอมพิวเตอร์

               5.1
การแทรกตัวแบบเชื่อมต่อกับโปรแกรมเป้าหมาย (append virus)

              
ไวรัสจะเกาะตัวไปกับโปรแกรมเป้าหมายโดยแทรกที่ต้นโปรแกรม
ไวรัสจะทำงานเมื่อเรียกใช้โปรแกรมเป้าหมาย
               5.2
การแทรกตัวแบบปิดล้อมโปรแกรมเป้าหมาย (virus that surround a program)

    
     ไวรัสจะแทรกที่หัวและท้ายโปรแกรมเป้าหมาย
        
 เพื่อควบคุมการทำงานทั้งตอนเริ่มต้นโปรแกรมและหลังที่โปรแกรมเป้าหมายทำงานเสร็จแล้ว
  
            5.3 การแทรกตัวแบบผสมและแทนที่ (integrated virus and
replacement)

        
 ไวรัสจะเข้าไปแทนที่และแทรกตัวในบางส่วนของโปรแกรมเป้าหมาย
     6.
การป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์

        
 ใช้โปรแกรมจากแหล่งที่เชื่อถือได้
          ทดสอบซอฟต์แวร์ใหม่บนคอมพิวเตอร์
stand alone ก่อน
          ให้สำรองโปรแกรมที่ต้องใช้งาน
ใช้สำรองเมื่อเกิดปัญหา
          ให้ใช้โปรแกรมป้องกันไวรัส
ตรวจจับเป็นประจำ
          ควรมีการสำรวจโปรแกรมระบบใน diskette หรือ
CD-ROM

          3.3.3 การรักษาความปลอดภัยของข้อมูล
    
ประกอบด้วยวิธีต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
     - การกำหนดการเข้าใช้ข้อมูล
     -
การเข้ารหัส
     - การควบคุมด้านต่าง ๆ
     -
ควรมีโปรแกรมเพื่อตรวจสอบและป้องกันไวรัส
     -
การจัดทำแผนรองรับกรณีมีเหตุร้ายหรือแผนฉุกเฉิน

        
 การกำหนดการเข้าใช้ข้อมูล
    
เป็นการกำหนดสิทธิ์และการได้รับอนุญาตให้ใช้ข้อมูล ซึ่งมีวิธีการต่างๆ ได้แก่
  
     1. การใช้บัตร (card) กุญแจ บัตรผ่านทาง
เพื่อผ่านการเข้าไปใช้ระบบหรือข้อมูลที่จัดเก็บในคอมพิวเตอร์
        2.
การใช้รหัสเพื่อเข้าสู่ระบบ
เพื่อตรวจสอบระบบอีกครั้ง
        3.
การใช้ลายเซ็นดิจิตอล

เป็นการรับรองเอกสารจากผู้ส่งไปยังผู้รับในระบบลายเซ็นดิจิตอล
        4.
การตรวจสอบผู้มีสิทธิ์ก่อนเ้ข้าสู่ระบบ
โดยอาศัยคุณลักษณะประจำตัวของบุคคลนั้น
การควบคุมด้านต่างๆ

          การเข้ารหัส
    
เป็นกระบวนการเข้ารหัส (encode) ในการ รปภ. ของข้อมูลเอกสารอิเล็กทรอนิกส์
โดยการแปลงเนื้อหาให้ไม่สามารถเข้าใจได้สำหรับผู้ลักลอบ
    
ข้อมูลที่เข้ารหัสต้องผ่านการถอดรหัส
เพื่อแปลงข้อมูลที่เข้ารหัสเพื่อคืนสู่สภาพเดิม

บทที่ 5 ระบบสารสนเทศของสำนักงานอัตโนมัติ

   บทบาทและหน้าที่หลักของงานสำนักงาน
     -
 การจัดการข่าวสารให้กับบุคคลในองค์กรให้ทำงานร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพรวดเร็ว
  
  - เชื่อมโยงการทำงานระหว่างกันในทุกระดับ ทุกหน้าที่
ตลอดจนการทำงานขององค์กร
     - เชื่อมโยงเกี่ยวข้องกับองค์กรหรือองค์กรภายนอก
รวมถึง บริษัท ห้างร้าน องค์กรเอกชน และองค์กรรัฐบาล ฯลฯ

        
 ระบบการจัดการด้านเอกสาร (Document Management Systems: DMS)
     -
ระบบประมวลผลคำ (Word Processing System)
     - ระบบประมวลผลภาพ (Image
Processing System)
     - ระบบจัดพิมพ์แบบตั้งโต๊ะ (Desktop Publishing)
  
  - การทำสำเนาเอกสาร (Reprographics)
     - การจัดเก็บเอกสาร จดหมายเหตุ
(Archive Storage)

          ระบบประมวลผลคำ (Word Processing
System)

     คือ
ระบบการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เมื่อนำข้อความเข้าเครื่องเก็บรักษาข้อความไว้ในเครื่อง
ดัดแปลงแก้ไข ปรับปรุง ข้อความ และจัดพิมพ์ข้อความเป็นเอกสาต่าง ๆ

        
 ระบบประมวลผลภาพ (Image Processing System)
     - บางครั้งเรียกว่า
ระบบการจัดการภาพอิเล็กทรอนิกส์ (electronic image management system)
     -
เป็นระบบที่มีการประมวลผลโดยอาศัยรูปภาพ
โดยอนุญาตให้ผู้ใช้สามารถนำรูปภาพจากเอกสารต่างๆ มาเก็บไว้ในฐานข้อมูล
และสามารถเรียกกลับมาดัดแปลงใช้งานได้ใหม่ในโอกาสต่อไปได้

        
 ระบบจัดพิมพ์แบบตั้งโต๊ะ (Desktop Publishing)
     -
เป็นชุดคำสั่งที่ทำให้ผู้ใช้สามารถทำรายงานวารสาร แผ่นพับ
หรือเอกสารสิ่งพิมพ์ที่มีคุณภาพใกล้เคียงกับการผลิตโดยมืออาชีพได้
เพราะผู้ใช้สามารถออกแบบและจัดได้ตามใจ เพียงใส่ตัวหนังสือ รูปภาพ
หรือลวดลายลงบนหน้ากระดาษ แล้วจัดเรียง

          การทำสำเนาเอกสาร
(Reprographics)

     - เป็นการผลิตเอกสารชนิดเดียวกันพร้อมกันหลายๆ
ชุดเพื่อใช้แจกจ่ายหรือเผยแพร่ทั้งภายในและภายนอก สำนักงานได้อย่างรวดเร็ว
ข้อได้เปรียบที่เห็นได้ชัดเจนคือ สามารถสร้างสำเนาได้สะดวก มีการโต้ตอบ
ถ่ายพิมพ์แบบย่อหรือขยายได้ หรือจะมีการพิมพ์สองด้านรวมข้อความพร้อมภาพ
หรือแม้กระทั่้งการจัดลำดับหน้าก็ทำได้เช่นกัน

        
 การจัดเก็บเอกสารจดหมายเหตุ
    
จัดเก็บรักษาด้วยหน่วยเก็บข้อมูลสำรองในรูปแบบต่าง

        
 ระบบการจัดการด้านข่าวสาร (Message - Handling Systems : MHS)
     -
ระบบโทรสาร (facsimile (fax) systems)
     - ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
(Electronic mail)
     - ไปรษณีย์เสียง (Voice mail)

        
 ระบบโทรสัมมนา หรือการประชุมทางไกล (Teleconferencing System : TS)
    
ประโยชน์
     - จัดนัดประชุมได้รวดเร็วสนองตอบความเร่งด่วน
     -
เพิ่้มผลผลิตของผู้เข้าร่วมประชุม เพราะลดค่าใช้จ่ายด้านการบริหาร
     -
การประชุมมีวินัยและมีประสิทธิภาพ
     - ใช้ในการสัมภาษณ์งาน

        
 ประเภท ระบบโทรสัมมนาหรือการประชุมทางไกล
     -
การประชุมด้วยภาพและเสียง (Video Conferencing)
     - การประชุมด้วยเสียง
(Audio Conferencing)
     - การประชุมด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer
Conferencing)
     - โทรทัศน์ภายใน (In-House Television)
     -
ระบบสื่อสารทางไกล (Telecommuting)

          ระบบสนับสนุนสำนักงาน
(Office Support Systems : OSS)

     - กรุ๊ปแวร์ (groupware)
     -
กราฟิกเพื่อการนำเสนอ (presentation graphics)
     - ระบบสนับสนุนสำนักงานอื่น


          กรุ๊ปแวร์ (groupware)
     คือ
แนวคิดในการใช้งานระบบส่วนชุดคำสั่งและสิ่งอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ที่จะมีการโต้ตอบกันระหว่างผู้ใช้ในระบบได้
     องค์ประกอบของกรุ๊ปแวร์ มีอยู่
4 ส่วนได้แก่
         - ผู้ใช้
         - มาตรฐาน
         -
ตัวเครื่อง
         - ส่วนชุดคำสั่ง

          การสร้างลำดับการทำงาน
(workflow)

    
หมายถึงการทำงานเป็นระบบทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มตามหน้าที่และมีลำดับที่ชัดเจน
 ประโยชน์ที่ได้รับคือ
         - ลดระยะเวลาการทำงาน
         -
ลดค่าใช้จ่าย
         - ลดการใช้กระดาษและการถ่ายเอกสาร
         -
ลดขนาดสำนักงาน ทั้งนี้เพราะเมื่อลดการใช้กระดาษก็จะทำให้พื้นที่ใช้งานลดลง
    
    - การจัดงานและการบริหารสะดวกขึ้น

วันเสาร์ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2553

เรียนครั้งที่ 4 เทคโนโลยีสำนักงาน

เรื่อง เทคโนโลยีสำนักงาน
        
 การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคเครื่องจักรของงานสำนักงาน

     - เครื่องพิมพ์ดีด
     - เครื่องพิมพ์ดีดอัตโนมัติ
     - MT/ST(Magnetic
Tape/Selectric Type Writer) และ MC/ST(Magnetic Card/Selectric Type Writer)
  
  - เครื่องประมวลผลคำ (Word processing)

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (COMPUTER TECHNOLOGY)

     - ปี 1940 คอมพิวเตอร์ถูกใช้ทางวิชาการและทางทหาร
     - ปี 1954 นำ computer มาใช้ในธุรกิจเป็นเครื่องแรก (UNIVAC)
     - เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ต่อธุรกิจได้จำกัดอยู่เฉพาะการประมวลผลข้อมูล
     - ขยายไปสู่การปฏิบัติสำนักงานอื่น ๆ รวมทั้งการประมวลผลคำและการสื่อสาร

    
     คอมพิวเตอร์ คืออะไร

     คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถรับข้อมูลและคำสั่งแล้วนำไปประมวลผล
เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ

        
 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์

     - หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
     - หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU)
     - หน่วยแสดงผล (Output Unit)
     - หน่วยความจำสำรอง (Secondary Storage Unit)

      
   เทคโนโลยีการสื่อสาร (COMMUNICATION TECHNOLOGY)
    
     - Telegraph (โทรเลข)
     - Telephone (โทรศัพท์)
     - Dictation Equipment (เครื่องบันทึกตามคำบอก)
     - Facsimile Teletype Writer
     - Electronic Mail

CONSUMER ELECTRONICS

     สารสนเทศทุกรูปแบบ ข้อมูล ภาพ เสียง วิดีโอ จะถูกเปลี่ยนเป็นสัญญาณดิจิตอลที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและจัดการได้ ผลที่สุดคือ เครื่องมือชิ้นใหม่ที่มีความสามารถและมีประสิทธิภาพมากสำหรับ electronic home และ electronic office

Case : TRUE "ยิ่งรวมกัน ยิ่งดีขึ้น"

     - True Visions (สีชมพู่)
     - True Move (สีเหลือง)
     - True Life (สีเขียวตอง)
     - True Money (สีส้ม)
     - True Online (สีฟ้า)
     - True Corporate Advertising
  
ผู้นำ Convergence เจ้าแรก
        
 การติดต่อสื่อสารในสำนักงาน

  - การติดต่อสื่อสารเป็นกระบวนการในการส่งหรือสื่อและแสดงข้อความทั้งที่เป็นคำพูดและแบบไม่ใช่คำพูด
  
  - ผู้บริหารสำนักงานควรให้ความสำคัญกับการติดต่อสื่อสารที่มีผลกระทบโดยตรงต่อตัวบุคคลและระบบเครือข่ายอย่างมาก

  
กระบวนการติดต่อสื่อสาร

     - ผู้ส่ง (Sender) เป็นต้นทางของการสื่อสารข้อมูล มีหน้าที่เตรียมสร้างข้อมูล อาจจะเป็นสัญญาณต่าง ๆ
เช่น สัญญาณภาพ ข้อมูล ข้อความและเสียง เป็นต้น
     - การใส่รหัส (Encode) เป็นการเรียบเรียงจัดการในรูปแบบของสัญลักษณ์ (เช่น คำพูด ตัวเลข เป็นต้น)
เพื่อแปลงสภาพส่งต่อไปยังผู้รับ โดยผ่านสื่อต่าง ๆ เป็นช่องทางการติดต่อสื่อสาร
เช่น สายโทรศัพท์ สัญญาณทีวี สายไฟเบอร์ออฟติก หรือแม้แต่คลื่นทางอากาศ (Air Wave)
เป็นต้น
     - ผู้รับ (Receiver) หน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาให้ และพิจารณาข่าวสารโดยการถอดรหัส

        
 กระบวนการติดต่อสื่อสาร

     - การถอดรหัส (Decode) เป็นการแปลงหรือถอดความข่าวสารจากความคิดของผู้ส่งมายังความคิดของผู้รับ ช่วงการส่งผ่านเพื่อสื่อสารจากผู้ส่งจนมาถึงผู้รับ เรียกว่า Transmission ส่วนช่วงส่งข้อมูลสื่อสารกลับให้ทราบเรียกว่า Feedback
     - เสียงรบกวน (Noise) อุปสรรคที่ทำให้การติดต่อสื่อสารไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิผลเท่าที่ควร

  
ประเภทการติดต่อสื่อสาร

แบ่งตามโครงสร้างองค์การ

     - Downward เป็นการติดต่อสื่อสารจากระดับบนสู่ระดับล่าง ข่าวสารจะมีทิศทางตรงสู่ผู้รับซึ่งอาจมีจำนวนมากกว่า 1 คนก็ได้
     - Upward เป็นการติดต่อสื่อสารจากระดับล่างสู่ระดับบนตามสายการบังคับบัญชา
     - Lateral เป็นการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ส่งและผู้รับในระดับเดียวกันตามสายงาน

      
ประเภทการติดต่อสื่อสาร

แบ่งตามเป้าหมายในการติดต่อสื่อสาร


     - Internal เป็นการติดต่อสื่อสารภายในองค์การ ซึ่งใช้สื่อภายในสำนักงานสมัยใหม่ประเภทต่างๆ
     - External เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้าและสาธาณชน ต้องมีการติดต่อสื่อสารภายนอก
ปัจจุบันมีเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารที่ช่วยให้การสื่อสารกับภายนอกทำให้สะดวก รวดเร็ว และดียิ่งขึ้น

ประเภทการติดต่อสื่อสาร
แบ่งตามรูปแบบ


     - Verbal เป็นการติดต่อสื่อสารประกอบด้วยคำไม่ว่าจะเป็นการเขียนหรือพูด
     - Nonverbal เป็นการติดต่อสื่อสารซึ่งไม่ได้ใช้การพูดหรือเขียน แต่มาจากท่าทาง ทัศนคติ และอารมณ์ ความรู้สึกหรือแม้แต่กิริยาอาการสัมผัส

        
 ประเภทการติดต่อสื่อสาร
แบ่งตามลักษณะการติดต่อสื่อสาร


     - Formal เป็นการติดต่อสื่อสารแบบเป็นทางการ มีลายลักษณ์อักษร หรือสื่อด้วยคำพูดข้อความตามรายงานอย่างชัดเจน
     - Informal เป็นการสื่อสารแบบไม่เป็นทางการ เกิดขึ้นตามสถานการณ์ทั่วไป หรือสถานการณ์ในสภาวะส่วนตัว

        
 สาเหตุของปัญหาอุปสรรคในการติดต่อสื่อสารจากมนุษย์
    
- การรับรู้แตกต่างกัน (Perception) เพราะพื้นฐานการเรียนรู้ การศึกษาประสบการณ์ และประวัติของแต่ละคน มีความแตกต่างกัน
- รูปแบบแตกต่างกัน (Style)    
- สถานภาพแตกต่าง (Status)
- วัฒนธรรม ภาษา มาตรฐาน และพฤติกรรมแตกต่าง
- ความคิดเห็นแตกต่าง
- ความรู้ความชำนาญและความสามารถแตกต่าง
- ปัจจัยอื่นๆ เช่น อารมณ์ (Mood) ทัศนคติ (Attitude) วุฒิภาวะ (Maturity) เป็นต้น

        
 อุปสรรคจากองค์การและสื่อ

     - บรรยากาศและสภาพแวดล้อมในสำนักงาน
     - สื่อในการติดต่อสื่อสาร
     - เวลา บางครั้งมีแรงกดดันจากเวลาในการติดต่อสื่อสารจากทั้งผู้ส่งและผู้รับ
     - ระยะทาง มีผลต่อการสื่อสารแบบดั้งเดิม

        
 เทคโนโลยีการติดต่อสื่อสาร

     - ความสามารถในการสร้าง เก็บ ปฏิบัติการ และสื่อสาร ทุกรูปแบบของข้อมูลในลักษณะของ Digital
มีเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง
     - ความเร็วที่เพิ่้มขึ้นจากระบบเทคโนโลยี
     - เทคโนโลยีใหม่มีขนาดและต้นทุนที่ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ
        
 คุณลักษณะของเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสาร

     - เวลาและสถานที่ (Time and Place)
     - กิจกรรมร่วมกัน (Interactivity)
     - หลักการ One-to-One, One-to-Many หรือ Many-to-Many
     - คนหรือหัวข้อเรื่อง (Person or Subject)

        
 ปัจจัยการเลือกใช้เทคโนโลยีที่ถูกต้องและเหมาะสม
     - Message    
     - Audlence
     - Context
     - Time
     - Cost and Profit

  
       ผลกระทบของเทคโนโลยีในสำนักงาน

     - ผลิตภาพและการจ้างงาน
     - การกระจายและการรวมงาน
     - ความได้เปรียบเชิงแข่งขันและความเสี่ยง
     - ข้อมูลข่าวสารมากเกินไป ทำให้เกิดผลกระทบต่อเวลา
     - ความปลอดภัยและความส่วนตัว
     - ความชำนาญงานที่ต้องการ

        
 ระบบเครือข่้ายเทคโนโลยีในสำนักงาน

        
 ระบบเครือข่ายในทางคอมพิวเตอร์หรือเทคโนโลยีข้อมูล หมายถึง
การสื่อสารข้อมูลหรือสารสนเทศระหว่างคอมพิวเตอร์ซึ่งมีการใช้งานอยู่ในที่ต่าง ๆ กัน
เช่น ในสำนักงาน ระหว่างองค์การในประเทศหรือระหว่างองค์การที่อยู่คนละประเทศ
  
            - เครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet)
            - อินทราเน็ต (Intranet)
            - เอ๊กซ์ทราเน็ต (Extranet)

        
 ประโยชน์ของอินทราเน็ต

     - พัฒนาด้านข้อมูลข่าวสาร ให้มีความทันสมัย สะดวก รวดเร็ว ลดขั้นตอน ประหยัด
     - ลดต้นทุนในการบริหารข้อมูลข่าวสาร
     - ใช้เทคโนโลยีแบบเปิด เป็นประโยชน์ในการกระจายความเสี่ยงจากการทำธุรกรรมร่วมกัน
     - มีความพร้อมในการเชื่อมโยงระบบอินเทอร์เน็ต

เอ๊กซ์ทราเน็ต (Extranet)

     ลักษณะของการเชื่่่อมต่อ 2 ประเภท
        - การเชื่อมต่อโดยตรง (Direct Link) เป็นการเชื่อมต่อระหว่างจุด 2 จุด
        - การเชื่อมต่อแบบเครือข่ายเสมือน (Virtual Network) เป็นการเชื่อมต่อระหว่างระบบเครือข่ายอินทราเน็ตจำนวนหลายๆ เครือข่ายและสามารถเชื่อมผ่านอินเทอร์เน็ตได้ด้วยเช่นกัน

        
 ระบบการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ตามระยะทาง

     - ระบบเครือข่ายระยะใกล้ (Local Area Network: LAN)
     - ระบบเครือข่ายระยะกลาง (Metropolitan Area Network:MAN)
     - ระบบเครือข่ายระยะไกล (Wide Area Network:WAN)

ลักษณะการติดต่อสื่อสารในสำนักงาน
     - การส่งข้อมูล (Data Sending)
     - การนัดหมาย (Appointment)
     - การประชุม (Meeting or Conference)
     - การนำเสนอ (Presentation)      

เรียนครั้งที่ 4 เทคโนโลยีสำนักงาน

เรื่อง เทคโนโลยีสำนักงาน
        
 การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ยุคเครื่องจักรของงานสำนักงาน

     - เครื่องพิมพ์ดีด
     - เครื่องพิมพ์ดีดอัตโนมัติ
     - MT/ST(Magnetic
Tape/Selectric Type Writer) และ MC/ST(Magnetic Card/Selectric Type Writer)
  
  - เครื่องประมวลผลคำ (Word processing)

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ (COMPUTER TECHNOLOGY)

     - ปี 1940 คอมพิวเตอร์ถูกใช้ทางวิชาการและทางทหาร
     - ปี 1954 นำ computer มาใช้ในธุรกิจเป็นเครื่องแรก (UNIVAC)
     - เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ต่อธุรกิจได้จำกัดอยู่เฉพาะการประมวลผลข้อมูล
     - ขยายไปสู่การปฏิบัติสำนักงานอื่น ๆ รวมทั้งการประมวลผลคำและการสื่อสาร

    
     คอมพิวเตอร์ คืออะไร

     คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถรับข้อมูลและคำสั่งแล้วนำไปประมวลผล
เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ

        
 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์

     - หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
     - หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU)
     - หน่วยแสดงผล (Output Unit)
     - หน่วยความจำสำรอง (Secondary Storage Unit)

      
   เทคโนโลยีการสื่อสาร (COMMUNICATION TECHNOLOGY)
    
     - Telegraph (โทรเลข)
     - Telephone (โทรศัพท์)
     - Dictation Equipment (เครื่องบันทึกตามคำบอก)
     - Facsimile Teletype Writer
     - Electronic Mail

CONSUMER ELECTRONICS

     สารสนเทศทุกรูปแบบ ข้อมูล ภาพ เสียง วิดีโอ จะถูกเปลี่ยนเป็นสัญญาณดิจิตอลที่คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและจัดการได้ ผลที่สุดคือ เครื่องมือชิ้นใหม่ที่มีความสามารถและมีประสิทธิภาพมากสำหรับ electronic home และ electronic office

Case : TRUE "ยิ่งรวมกัน ยิ่งดีขึ้น"

     - True Visions (สีชมพู่)
     - True Move (สีเหลือง)
     - True Life (สีเขียวตอง)
     - True Money (สีส้ม)
     - True Online (สีฟ้า)
     - True Corporate Advertising
  
ผู้นำ Convergence เจ้าแรก
        
 การติดต่อสื่อสารในสำนักงาน

  - การติดต่อสื่อสารเป็นกระบวนการในการส่งหรือสื่อและแสดงข้อความทั้งที่เป็นคำพูดและแบบไม่ใช่คำพูด
  
  - ผู้บริหารสำนักงานควรให้ความสำคัญกับการติดต่อสื่อสารที่มีผลกระทบโดยตรงต่อตัวบุคคลและระบบเครือข่ายอย่างมาก

  
กระบวนการติดต่อสื่อสาร

     - ผู้ส่ง (Sender) เป็นต้นทางของการสื่อสารข้อมูล มีหน้าที่เตรียมสร้างข้อมูล อาจจะเป็นสัญญาณต่าง ๆ
เช่น สัญญาณภาพ ข้อมูล ข้อความและเสียง เป็นต้น
     - การใส่รหัส (Encode) เป็นการเรียบเรียงจัดการในรูปแบบของสัญลักษณ์ (เช่น คำพูด ตัวเลข เป็นต้น)
เพื่อแปลงสภาพส่งต่อไปยังผู้รับ โดยผ่านสื่อต่าง ๆ เป็นช่องทางการติดต่อสื่อสาร
เช่น สายโทรศัพท์ สัญญาณทีวี สายไฟเบอร์ออฟติก หรือแม้แต่คลื่นทางอากาศ (Air Wave)
เป็นต้น
     - ผู้รับ (Receiver) หน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาให้ และพิจารณาข่าวสารโดยการถอดรหัส

        
 กระบวนการติดต่อสื่อสาร

     - การถอดรหัส (Decode) เป็นการแปลงหรือถอดความข่าวสารจากความคิดของผู้ส่งมายังความคิดของผู้รับ ช่วงการส่งผ่านเพื่อสื่อสารจากผู้ส่งจนมาถึงผู้รับ เรียกว่า Transmission ส่วนช่วงส่งข้อมูลสื่อสารกลับให้ทราบเรียกว่า Feedback
     - เสียงรบกวน (Noise) อุปสรรคที่ทำให้การติดต่อสื่อสารไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิผลเท่าที่ควร

  
ประเภทการติดต่อสื่อสาร

แบ่งตามโครงสร้างองค์การ

     - Downward เป็นการติดต่อสื่อสารจากระดับบนสู่ระดับล่าง ข่าวสารจะมีทิศทางตรงสู่ผู้รับซึ่งอาจมีจำนวนมากกว่า 1 คนก็ได้
     - Upward เป็นการติดต่อสื่อสารจากระดับล่างสู่ระดับบนตามสายการบังคับบัญชา
     - Lateral เป็นการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ส่งและผู้รับในระดับเดียวกันตามสายงาน

      
ประเภทการติดต่อสื่อสาร

แบ่งตามเป้าหมายในการติดต่อสื่อสาร


     - Internal เป็นการติดต่อสื่อสารภายในองค์การ ซึ่งใช้สื่อภายในสำนักงานสมัยใหม่ประเภทต่างๆ
     - External เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้าและสาธาณชน ต้องมีการติดต่อสื่อสารภายนอก
ปัจจุบันมีเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสารที่ช่วยให้การสื่อสารกับภายนอกทำให้สะดวก รวดเร็ว และดียิ่งขึ้น

ประเภทการติดต่อสื่อสาร
แบ่งตามรูปแบบ


     - Verbal เป็นการติดต่อสื่อสารประกอบด้วยคำไม่ว่าจะเป็นการเขียนหรือพูด
     - Nonverbal เป็นการติดต่อสื่อสารซึ่งไม่ได้ใช้การพูดหรือเขียน แต่มาจากท่าทาง ทัศนคติ และอารมณ์ ความรู้สึกหรือแม้แต่กิริยาอาการสัมผัส

        
 ประเภทการติดต่อสื่อสาร
แบ่งตามลักษณะการติดต่อสื่อสาร


     - Formal เป็นการติดต่อสื่อสารแบบเป็นทางการ มีลายลักษณ์อักษร หรือสื่อด้วยคำพูดข้อความตามรายงานอย่างชัดเจน
     - Informal เป็นการสื่อสารแบบไม่เป็นทางการ เกิดขึ้นตามสถานการณ์ทั่วไป หรือสถานการณ์ในสภาวะส่วนตัว

        
 สาเหตุของปัญหาอุปสรรคในการติดต่อสื่อสารจากมนุษย์
    
- การรับรู้แตกต่างกัน (Perception) เพราะพื้นฐานการเรียนรู้ การศึกษาประสบการณ์ และประวัติของแต่ละคน มีความแตกต่างกัน
- รูปแบบแตกต่างกัน (Style)    
- สถานภาพแตกต่าง (Status)
- วัฒนธรรม ภาษา มาตรฐาน และพฤติกรรมแตกต่าง
- ความคิดเห็นแตกต่าง
- ความรู้ความชำนาญและความสามารถแตกต่าง
- ปัจจัยอื่นๆ เช่น อารมณ์ (Mood) ทัศนคติ (Attitude) วุฒิภาวะ (Maturity) เป็นต้น

        
 อุปสรรคจากองค์การและสื่อ

     - บรรยากาศและสภาพแวดล้อมในสำนักงาน
     - สื่อในการติดต่อสื่อสาร
     - เวลา บางครั้งมีแรงกดดันจากเวลาในการติดต่อสื่อสารจากทั้งผู้ส่งและผู้รับ
     - ระยะทาง มีผลต่อการสื่อสารแบบดั้งเดิม

        
 เทคโนโลยีการติดต่อสื่อสาร

     - ความสามารถในการสร้าง เก็บ ปฏิบัติการ และสื่อสาร ทุกรูปแบบของข้อมูลในลักษณะของ Digital
มีเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง
     - ความเร็วที่เพิ่้มขึ้นจากระบบเทคโนโลยี
     - เทคโนโลยีใหม่มีขนาดและต้นทุนที่ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ
        
 คุณลักษณะของเทคโนโลยีการติดต่อสื่อสาร

     - เวลาและสถานที่ (Time and Place)
     - กิจกรรมร่วมกัน (Interactivity)
     - หลักการ One-to-One, One-to-Many หรือ Many-to-Many
     - คนหรือหัวข้อเรื่อง (Person or Subject)

        
 ปัจจัยการเลือกใช้เทคโนโลยีที่ถูกต้องและเหมาะสม
     - Message    
     - Audlence
     - Context
     - Time
     - Cost and Profit

  
       ผลกระทบของเทคโนโลยีในสำนักงาน

     - ผลิตภาพและการจ้างงาน
     - การกระจายและการรวมงาน
     - ความได้เปรียบเชิงแข่งขันและความเสี่ยง
     - ข้อมูลข่าวสารมากเกินไป ทำให้เกิดผลกระทบต่อเวลา
     - ความปลอดภัยและความส่วนตัว
     - ความชำนาญงานที่ต้องการ

        
 ระบบเครือข่้ายเทคโนโลยีในสำนักงาน

        
 ระบบเครือข่ายในทางคอมพิวเตอร์หรือเทคโนโลยีข้อมูล หมายถึง
การสื่อสารข้อมูลหรือสารสนเทศระหว่างคอมพิวเตอร์ซึ่งมีการใช้งานอยู่ในที่ต่าง ๆ กัน
เช่น ในสำนักงาน ระหว่างองค์การในประเทศหรือระหว่างองค์การที่อยู่คนละประเทศ
  
            - เครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet)
            - อินทราเน็ต (Intranet)
            - เอ๊กซ์ทราเน็ต (Extranet)

        
 ประโยชน์ของอินทราเน็ต

     - พัฒนาด้านข้อมูลข่าวสาร ให้มีความทันสมัย สะดวก รวดเร็ว ลดขั้นตอน ประหยัด
     - ลดต้นทุนในการบริหารข้อมูลข่าวสาร
     - ใช้เทคโนโลยีแบบเปิด เป็นประโยชน์ในการกระจายความเสี่ยงจากการทำธุรกรรมร่วมกัน
     - มีความพร้อมในการเชื่อมโยงระบบอินเทอร์เน็ต

เอ๊กซ์ทราเน็ต (Extranet)

     ลักษณะของการเชื่่่อมต่อ 2 ประเภท
        - การเชื่อมต่อโดยตรง (Direct Link) เป็นการเชื่อมต่อระหว่างจุด 2 จุด
        - การเชื่อมต่อแบบเครือข่ายเสมือน (Virtual Network) เป็นการเชื่อมต่อระหว่างระบบเครือข่ายอินทราเน็ตจำนวนหลายๆ เครือข่ายและสามารถเชื่อมผ่านอินเทอร์เน็ตได้ด้วยเช่นกัน

        
 ระบบการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ตามระยะทาง

     - ระบบเครือข่ายระยะใกล้ (Local Area Network: LAN)
     - ระบบเครือข่ายระยะกลาง (Metropolitan Area Network:MAN)
     - ระบบเครือข่ายระยะไกล (Wide Area Network:WAN)

ลักษณะการติดต่อสื่อสารในสำนักงาน
     - การส่งข้อมูล (Data Sending)
     - การนัดหมาย (Appointment)
     - การประชุม (Meeting or Conference)
     - การนำเสนอ (Presentation)      
 

Missing You Blogger Template